Page 111 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 111

๑๐๒




              เรื่องที่ทุกคนตองชวยกัน ทั้งธุรกิจจนถึงผูรักษากฎหมาย และรัฐบาล ผลก็คือผูที่มีสวนไดสวนเสีย
              และคนที่เกี่ยวของจะไดเห็นในสิ่งที่แตกตาง ดวยมุมมอง และประสบการณจะทําใหเราเห็นเรื่องราว

              เหลานี้ไดชัดเจนยิ่งขึ้น ยิ่งถาไดแบงปนความรูและประสบการณเหลานี้จะทําใหเราสามารถตรวจพบ
              และตอบสนองตอภัยคุกคามไดเร็วยิ่งขึ้น

                          ทายที่สุดกอนจะรับมือกับภัยคุกคามในศตวรรษที่ ๒๑ จะบอกวาการเขียนชื่อ ที่อยู
              และเบอรโทรบนเว็บไซตเปนสิ่งที่ไมปลอดภัย และที่สําคัญก็คือถาหากเราไมลงทุนรักษาความปลอดภัย

              ไมเพิ่มพูนทักษะเรา และไมทํางานรวมกัน ขอบเขตของภัยคุกคามก็จะลุกลามไปเรื่อยๆ แตถาเราชวยกัน
              สิ่งเดียวที่จะลดปญหานี้ไดดวยความพยายามหยิบมือเดียวเทานั้น

                          สําหรับกระบวนการมีสวนรวมและเครือขายทางสังคมนั้น  จะใชฐานความรูในการอธิบาย
              จากแนวคิดเรื่องการเสริมสรางทุนทางสังคม (Social Capital) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ดังปรากฏ

              ความหมายและองคประกอบในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ ที่สํานักงาน
              คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (๒๕๔๙) ระบุวา ทุนทางสังคมเกิดจากการรวมตัว

              รวมคิดรวมทําบนฐานของความไวเนื้อเชื่อใจสายใยความผูกพัน และวัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทย

              ผานระบบความสัมพันธในองคประกอบหลัก ไดแก คน สถาบัน วัฒนธรรมและองคความรู ซึ่งทุนทาง
              สังคมสามารถกอใหเกิดพลัง เพื่อใชขับเคลื่อนชุมชน สังคม ใหพัฒนาไปสูความเขมแข็งได ดังนี้แลว
              การรวมตัวรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมแกไขปญหา รวมรับผิดชอบ และรวมตรวจสอบ ของตํารวจกับ

              ประชาชนบนฐานของความไวเนื้อเชื่อใจก็คือทุนทางสังคม ที่สามารถกอใหเกิดพลังขับเคลื่อนกลไก

              ในการปองกันอาชญากรรม ใหเกิดความเขมแข็งขึ้นมาได ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
              สังคมแหงชาติดังที่เห็นประจักษอยางเดนชัด แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการมีสวนรวม (Participation)

              และเครือขายทางสังคม (Social Network) จึงไดนํามาศึกษาสรางฐานใหเขาใจถึงเรื่องทุนทางสังคม
              ที่มีอยูทั่วไปและเมื่อใดก็ตามที่ตํารวจไทยไดปรับกระบวนทัศนใหความสําคัญกับการประสานนําทุน

              ทางสังคมที่มีอยูนี้ มาใชผนึกกําลังขยายศักยภาพสรางเครือขายโยงใยใหไดอยางทั่วถึงทุกพื้นที่แลว
              เชื่อมั่นวา  จะบังเกิดผลตอการปองกันอาชญากรรมที่กอใหเกิดพลังขับเคลื่อนคนชุมชน สังคม ใหรวมแรง

              รวมใจพัฒนาความมั่นคงปลอดภัยไปสูความเขมแข็งไดอยางยั่งยืน นั่นคือ ประชาชนสามารถพึ่งพา
              ตนเองได และสามารถพึ่งพากันเองไดโดยมีตํารวจเปนผูใหการสนับสนุน แนะนํา ชี้แนะกลยุทธ ในการ

              ปองกันคนและสังคม พรอมๆ กับการปฏิบัติหนาที่ในบทบาทของผูบังคับใชกฎหมายใหเปนไปตามกรอบ
              และบรรทัดฐานของสังคม ปราศจากผูฝาฝนหรือคิดละเมิดผูอื่นอยางเครงครัด สําหรับขอมูลเบื้องตน

              เพื่อทบทวนที่มาของการสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม พบวา เริ่มปรากฏความชัดเจนในหลักการตาม
              วิถีทางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ ซึ่งรูจักกันในนาม “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”

              ที่ถือเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกในประวัติศาสตรการพัฒนาการเมืองไทย ที่ไดวางรากฐานสําคัญของ
              ระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม (Participatory Democracy) โดยเปดโอกาสใหประชาชนเขา

              มีสวนรวมในทางการเมืองและการบริหารของรัฐ ทั้งในระดับชาติและทองถิ่น หลักการดังกลาวไดมี
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116