Page 115 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 115

๑๐๖




              หรือชุมชน (กองวิจัยและพัฒนา  สํานักงานตํารวจแหงชาติ, ๒๕๕๐, น. ๖) ดังนั้น การสรางความรวมมือ
              ระหวางตํารวจกับชุมชน เพื่อรวมรับผิดชอบตอการปองกันอาชญากรรม หรือปญหาความไมเปน

              ระเบียบในชุมชน โดยไมปลอยใหเปนภาระหนาที่หรือปญหาของตํารวจแตเพียงลําพังฝายเดียว จึงเปน
              ประเด็นคําตอบที่นํามาตอบคําถามขางตน ซึ่งเมื่อตํารวจสามารถกําหนดกลยุทธเพื่อคลี่คลายปญหา

              และอุปสรรคในการทํางานรวมกันกับชุมชนไดแลว จะไดผลลัพธสุดทายคือ ประชาชนในชุมชน
              กลับกลายเปนหุนสวนการทํางานรวมกันของตํารวจ (Partnership) หลักการสําคัญของการมีสวนรวม

              ตามที่ไดกลาวมา ทําใหคนพบสาระสําคัญในรายละเอียดเกี่ยวกับการปองกันอาชญากรรมที่ตองเรงสราง
              คือ เจาหนาที่ตํารวจเปนหุนสวนกับประชาชน (Partnership) และมุงเนนการแกไขปญหาที่ตนเหตุ

              ดังนั้น ตํารวจจะตองมุงแสวงหากลยุทธสรางกรอบปฏิบัติ เพื่อกระตุนสรางจิตสํานึกใหประชาชนเกิดความ
              รูสึกผูกพันรวมในการเปนเจาของปญหาอาชญากรรมรวมกัน รวมทั้งปรับเปลี่ยนมุมมองและทัศนคติใหม

              และมีความคิดใหมวาการแกไขปญหาอาชญากรรมมิไดเปนหนาที่และบทบาทของเจาหนาที่ตํารวจ
              เพียงฝายเดียว แตเกิดการมองภาพที่กวางไกลวาเปนหนาที่ของประชาชนทุกคนที่ตองเขามามีสวนรวม

              รับผิดชอบตอปญหา ซึ่งสุดทายแลวผลที่ไดจะสะทอนกลับไปเปนความมั่นคง ปลอดภัย ในชีวิตและ

              ทรัพยสินของประชาชนทุกคนเอง ตัวอยางที่ชัดเจนจากกรณีภัยพิบัติอุทกภัยที่เกิดขึ้นใน พ.ศ.๒๕๕๔
              ซึ่งเปนภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษ คือ  ตองอาศัยความรู ความชํานาญเฉพาะ ในการ
              เตรียมพรอมปองกัน แกไข เพื่อใหภาวะที่ไมพึงประสงคกลับคืนสูสภาพปกติโดยเร็ว และเพื่อปองกันภัย

              ดานอื่นๆ ที่จะตามมา เชน จากเชื้อโรค ดินโคลนถลม อาคารบานเรือนเสียหาย และเกิดความออนไหว

              ในการเผชิญภัยที่ตางกันของชุมชน ซึ่งหากตํารวจชุมชนอยูในพื้นที่ก็จะสามารถแบงเบาสภาวะที่ระบบ
              การทํางานของชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติใหมีกําลังใจ กําลังความสามารถโดยใชทรัพยากร

              ของชุมชนที่มีอยู และยังชวยลดความโกลาหลอันเกิดจากความหวาดกลัวภัย โดยเขาไปมีบทบาท
              รวมกับชุมชนในการฟนฟูกิจกรรมตางๆ ของชุมชนใหกลับคืนสภาวะปกติโดยเร็ว นอกจากนี้ ตํารวจ

              ชุมชนยังสามารถสรางความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับภัยพิบัติ ชวยเตรียมความพรอมในดานตางๆ
              รวมประเมิน และรวมวิเคราะห ซึ่งถือเปนการสงเสริมใหประชาชนในพื้นที่ไดรูสึกถึงความเปนเจาของใน

              การแกไขปญหารวมกันกับตํารวจตลอดจนบุคคลตางๆ ที่เขามามีสวนรวมในพื้นที่ชุมชน การแสวงหา
              กลยุทธเพื่อสงเสริมใหประชาชนรูสึกเปนเจาของปญหาที่จะนําไปสูวิธีการแกไขปญหารวมกับตํารวจ

              ดังกลาว จึงสอดคลองกับหลักการและแนวคิด “การตํารวจชุมชน” (Community Policing) ที่ตํารวจ
              ทุกคนตองเรียนรู เพื่อนําไปจัดการกับปญหาในเชิงรุก โดยการปรับวิธีคิดทั้งของตํารวจ  และประชาชน

              บนจุดยืนที่สมดุล สามารถดําเนินงานคูขนานดวยกันได ภายใตความเห็นที่สอดคลองจากการตระหนัก
              ถึงภัยปญหาอาชญากรรมรวมกัน และพรอมที่จะรวมมือรวมใจกัน ซึ่งเปนมิติใหมของนวัตกรรม

              กระบวนทัศนการปองกันอาชญากรรมของตํารวจไทยในศตวรรษที่ ๒๑.
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120