Page 114 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 114

๑๐๕




                 การประมวลความรูเพื่อทบทวนความหมายของคําสําคัญ คือ กระบวนการมีสวนรวม (Participation)
                 เครือขายทางสังคม (Social Network) และประชาสังคม (Civil Society) ซึ่งเปนทุนทางสังคม (Social

                 Capital) ที่มีอยูเปนพื้นฐาน ทําใหคนพบวา ปจจุบันยังขาดแรงกระตุนสงเสริมใหเกิดแรงกระเพื่อมที่
                 สามารถสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมีแผน (Planned Change)  ทั้งนี้ เมื่อใดก็ตามที่ตํารวจ

                 สามารถปรับกลยุทธจากการตั้งรับรอใหอาชญากรรมเกิดขึ้นกอน มาเปนการรุกรบปองกันอาชญากรรม
                 ไมใหเกิดขึ้นได โดยอาศัยการเชื่อมโยงสรางสัมพันธเปนแนวรวมกับภาคประชาชนไวใหไดอยาง

                 เหนียวแนนแลว เชื่อวากลยุทธนี้จะกอใหเกิดพลังขับเคลื่อนทางสังคมจนเกิดเปนกระแสการควบคุมและ
                 ตอตานอาชญากรรม ที่จะทําใหทุกภาคสวนลุกขึ้นมาตอสูกับปญหาอาชญากรรม โดยเฉพาะอาชญากรรม

                 พื้นฐาน ไดแก ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย ชิงทรัพย  และปลนทรัพยในชุมชน เกิดการตื่นตัว พรอมรวมมือ
                 รวมใจระวังภัยใหแกกัน และเขารวมทํากิจกรรมกับเจาหนาที่ตํารวจเพื่อประสานการทํางานและแสดง

                 ใหเห็นในเชิงสัญลักษณถึงการผนึกกําลังที่ตองการทําใหสังคมปลอดภัย สุดทายจะสงผลตอผูคิดกอ
                 อาชญากรรมใหหมดชองโอกาสจากสภาพแวดลอมที่ปดกั้น และถูกลอมกรอบไปดวยผูคนที่เฝาระวัง

                 สอดสองดูแลไปทุกพื้นที่ ภาพที่เกิดขึ้นแสดงใหเห็นถึงปจจัยกอใหเกิดอาชญากรรมไมมีมูลเหตุจูงใจ

                 ของผูกระทําผิดจึงหมดตามลงไป เพราะเกรงกลัวตอผลของการกระทําที่สอดคลองเปนไปตามแนวคิด
                 เกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมาย (Law Enforcement) อันเนื่องมาจากการเปดโอกาสใหประชาชนชุมชน
                 เขามามีสวนรวม และประชาชนตางทําหนาที่เปนเสมือนตํารวจรวมกันปองกันอาชญากรรมดวยความ

                 เสียสละ เต็มใจ สมัครใจ และเห็นแกประโยชนสวนรวม

                             กลยุทธที่ตํารวจไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ควรเริ่มดําเนินการใหเปนนวัตกรรมภายใตกระบวน
                 ทัศนใหม จึงตองสงเสริมและเนนใหเกิดการดําเนินงานเชิงรุกในลักษณะมุงสูการปองกันนําหนา

                 การปราบปรามดวยวิธีการแสวงหาแนวรวมจากประชาชน  ซึ่งแตเดิมตํารวจมักจะไดรับการตอบรับ
                 ในการมีสวนรวมจากประชาชน (Participation) กลับมาเมื่อขอความชวยเหลือจากประชาชนแตใน

                 อนาคตตํารวจจะตองดําเนินกลวิธีใหแปรเปลี่ยนจากความรวมมือในระดับการมีสวนรวมมาสูการรวมคิด
                 รวมทํา รวมรับผิดชอบ รวมตรวจสอบ เปนความรวมมือในระดับที่กาวหนากวา (Collaboration) มาเปน

                 การสงเสริมบทบาทใหประชาชนเขามามีสวนรวมแบบที่มีสวนรวมของการเปนเจาของพื้นที่ เจาของชุมชน
                 (Partnership) และพัฒนามาสูรูปแบบของเครือขายทางสังคม (Social Network) ที่เกิดจากความรูสึก

                 ตระหนักรวมจากภัยปญหาอาชญากรรมรวมกัน ความรูสึกตระหนักรวม หรือความรูสึกผูกพันรวม
                 (Shared Commitment) จึงเปนประเด็นที่ตองนํามาพิจารณาตั้งเปนคําถามตอไปวา ตํารวจควรจะ

                 ตองทําอยางไรบาง ประชาชนจึงจะรับรูถึงความรูสึกดังกลาว และเขาใจไดดวยตนเองวา ปญหาใด
                 ตองไดรับการแกไขและขจัดปจจัยเสี่ยงในการเกิดอาชญากรรมอยางเรงดวนโดยความรวมมือกันของ

                 ประชาชนหรือชุมชนที่เปนเครือขายทางสังคมอันดีตอกัน ยอมเกิดขึ้นไดงายและบรรลุผลดีมากกวา
                 การที่เจาหนาที่ตํารวจจะเขาไปจัดการกับปญหาที่เกิดขึ้นแตเพียงฝายเดียว เพราะอาชญากรรมไมอาจ

                 หมดลงไปได หากปจจัยเสี่ยงในพื้นที่หรือในชุมชนยังดํารงอยู และไมไดรับความสนใจจากเจาของพื้นที่
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119