Page 112 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 112
๑๐๓
การขยายความในรายละเอียดเพิ่มเติมมาสูรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ตามความ
ที่ปรากฏในมาตรา ๘๗ วา รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน
ดังตอไปนี้
๑) สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม ทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น
๒) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง
การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมรวมทั้งการจัดทําบริการสาธารณะ
๓) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชน ในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ
ทุกระดับในรูปแบบองคกรทางวิชาชีพหรือสาขาอาชีพที่หลากหลายหรือรูปแบบอื่นๆ
คําวา การมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation) จึงถือกําเนิดขึ้นและนํา
มาใชอยางกวางขวาง โดย คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ (๒๕๔๕, น. ๙-๑๐) ไดใหนิยามศัพทวา เปน
กระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวนไดสวนเสีย ไดมีโอกาสแสดงทัศนะและความเห็น และมีการนํา
ความคิดเห็นดังกลาว ไปประกอบในการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ การมีสวนรวมของ
ประชาชนเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปดเปนการสื่อสารสองทางทั้งที่มีรูปแบบเปนทางการ
และไมเปนทางการ ซึ่งประกอบไปดวยการแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย นอกจากนี้
ยังไดใหความหมายของ “การมีสวนรวม” ในมิติความลึกวา หมายถึง การพิจารณาถึงการมีสวนชวยเหลือ
โดยสมัครใจ โดยประชาชนตอโครงการใดโครงการหนึ่งของโครงการสาธารณะตางๆ ที่คาดวาจะสงผล
ตอการพัฒนาชาติ ประการสําคัญการมีสวนรวม คือ การที่ไดมีการจัดการที่จะใชความพยายามที่จะเพิ่ม
ความสามารถที่จะควบคุมทรัพยากรและระเบียบในสถาบันตางๆ ในสภาพสังคมนั้นๆ การมีสวนรวม
เปนกระบวนการที่สามารถกอใหเกิดการกระทําใดๆ รวมกัน แมในทางความคิด แตตองเปนไป
โดยเสรีภาพ หรือความสมัครใจ หรือลักษณะอาสาสมัครแบบจิตอาสา ดังนั้น ตํารวจกับประชาชน
จึงสามารถทํางานรวมกันได รวมถึงการปองกันอาชญากรรมที่เปนการควบคุมกฎ ระเบียบของสังคม
และสามารถสงผลตอการพัฒนาชาติ โดยไมใชลักษณะบังคับ แตตองคอยๆ ปรับเปลี่ยนความคิด
หรือกระบวนทัศน จนเห็นถึงความสําคัญ และตัดสินใจเขารวมงานหรือมีสวนชวยเหลือโดยสมัครใจ
หรือมีจิตอาสาเขาเปนอาสาสมัครในกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการปองกันอาชญากรรมในสวนของเครือขาย
ทางสังคม พบวา มีความสัมพันธกับกระบวนการมีสวนรวมอยางไมสามารถแยกออกจากกันได โดยเกิด
ขึ้นพรอมๆ กัน และเปนลักษณะองคประกอบของการทํางานเชิงกลยุทธรวมกัน ทั้งระหวางองคกรกับ
องคกร หรือองคกรกับบุคคลหรือชุมชน หรือกลุมบุคคลกับกลุมบุคคล ทั้งนี้ ปาริชาติ วลัยเสถียร (๒๕๔๗,
น. ๒๖-๒๘) ไดกลาวถึงความสัมพันธของกระบวนการมีสวนรวม เครือขายทางสังคม และกระบวนการ
เรียนรู ที่สามารถนําคําอธิบายมาใชเปนองคประกอบที่เปนประโยชนตอการปรับกระบวนทัศนตํารวจ
วาการขับเคลื่อนทางสังคมสมัยใหมนั้นมีแนวโนมที่จะใชฐานความรูและปญญาในการขับเคลื่อนทาง
สังคมซึ่งกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญตอการขยายแนวคิด และกระบวนการทํางาน ความสัมพันธ