Page 4 - GMI Annual Report 2018
P. 4
GMI Annual Report 2018
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็ นมา
บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม
มหาบัณฑิต 3 สาขา คือ สาขาการจัดการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีชื่อ
โลจิสติกส์ สาขาการบริหารโครงการ และสาขา
เรียกภาษาอังกฤษว่า Graduate School of
การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยมีกลุ่ม
Management and Innovation (GMI) ก่อตั้งขึ้น
ผู้สนใจเรียนหลักคือ วิศวกร และผู้ที่ท างานในภาค
ในปี พ.ศ. 2545 โดยผู้บริหารมหาวิทยาลัยใน
การผลิตซึ่งจบทางสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ขณะนั้น ต้องการผลักดันหนึ่งในเป้ าหมายเชิงกล
ยุทธ์ของมหาวิทยาลัยในโครงการพัฒนาระบบ
ต่อมาผู้บริหาร GMI ในช่วงแรกทราบแนวโน้มของ
บริหารของมหาวิทยาลัยหรือโครงการ 6+1
การพัฒนาแผนแม่บททางโทรคมนาคมของ
Flagships นั่นคือ “การสร้างความเข้มแข็งทางด้าน
ประเทศประกอบกับกระแสการขยายตัวของตลาด
การบริหารจัดการ” (Management Strengthening)
ที่มีผู้ที่สนใจน าองค์ความรู้ในศาสตร์ทางด้าน
โดยเริ่มต้นจากทรัพยากรบุคคลและเครือข่ายที่
วิศวกรรม หรือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปต่อ
มหาวิทยาลัยมีอยู่บนฐานของศาสตร์ที่เป็นจุดแข็ง
ยอดในการท าธุรกิจของตนเองจึงได้เสนอ
ของมหาวิทยาลัย นั่นคือวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอเปิ ดหลักสูตรบริหารธุรกิจ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีปณิธานในการ
มหาบัณฑิต (MBA) ขึ้นในปี พ.ศ.2547 อีก 2
สร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคลที่พรั่งพร้อมด้วย
สาขา คือสาขาการจัดการโทรคมนาคมและบ
ทักษะของการเป็ นนักบริหารจัดการสมัยใหม่
รอดคาสติ้ง และสาขาการจัดการส าหรับการ
เพราะโอกาสและความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
เป็ นผู้ประกอบการ ซึ่งถือเป็ นการเสริมจุดแข็ง
ของบัณฑิตที่จบปริญญาตรีในโลกปัจจุบันจะมี
ของทรัพยากรบุคคลของประเทศในการขับเคลื่อน
มากขึ้นหากมีสมรรถนะด้านบริหารจัดการ
เศรษฐกิจผ่านการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMEs)
บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม จึงมี
พันธกิจส าคัญในการให้บริการองค์ความรู้
ทางด้านบริหารจัดการผ่านการเรียนการสอน อีกด้วยการเปลี่ยนแปลงครั้งส าคัญของ GMI
การวิจัย และการบริการวิชาการ แก่ผู้สนใจเรียน เกิดขึ้นในช่วงการปรับปรุงหลักสูตรของคณะเมื่อ
ในระดับปริญญาโท และบุคคลหรือองค์กรทั้ง ปี พ.ศ.2553 ซึ่งมีการทบทวนถึงจุดแข็ง
ภายในและภายนอกอื่นๆ ที่ต้องการค าปรึกษา และ จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของคณะ ท าให้
ความช่วยเหลือในด้านบริหารจัดการในมิติต่างๆ คณะต้องการใช้ประโยชน์จากบุคลากรที่มีความ
เชี่ยวชาญเฉพาะทางอย่างมีประสิทธิภาพ
ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่ (Resources Utilization) ประกอบกับเสียงสะท้อน
ต้องการสร้างหลักสูตรด้านบริหารจัดการที่ จ า ก ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ
แตกต่างจากสถาบันอื่นที่มีหลักสูตรด้าน ภาคอุตสาหกรรม รวมไปถึงผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า
บริหารธุรกิจ และเล็งเห็นแนวโน้มของการพัฒนา และนักศึกษาปัจจุบันในขณะนั้น ที่ต้องการให้
ประเทศที่ต้องอาศัยการบริหารจัดการโครงสร้าง คณะเปิ ดสาขาวิชาเฉพาะทางมากขึ้น โดยบูรณา
พื้นฐาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการขนส่ง การเข้ากับศาสตร์ด้านบริหารจัดการ
สินค้าในระบบโลจิสติกส์ ในช่วง 2 ปีแรกของการ
ก่อตั้ง GMI จึงเปิดหลักสูตรวิทยาศาสตร
1