Page 23 - กาพย์เห่เรือ
P. 23

สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ

                                   กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทั้งกาพย์และโคลง นอกจากจะประกอบด้วยสัมผัสตามข้อบังคับของ


                     ฉันทลักษณ์แล้ว ในบทพระนิพนธ์ยังเพิ่มสัมผัสเสียงสระและเสียงพยัญชนะที่รับส่งกันอย่างแพรวพราว กลมกลืน


                     เหมาะเจาะ ท าให้บทพระนิพนธ์ของพระองค์ท่านเป็นที่นิยมมาทุกสมัย

                                   - การสัมผัสสระ


                                   การสัมผัสสระ ที่ใช้ในการประพันธ์จะท าให้ได้ยินเสียงที่ไพเราะ มีท่วงท านองคล้องจองสัมผัสกัน

                     อย่างเหมาะสมทั้ง สัมผัสชิด หรือผูกสัมผัสติดกันไปและสัมผัสคั่น  คือสัมผัสไม่ติดกันมีค าอื่นคั่นอยู่ แต่ก็ยังมีสัมผัส


                     คล้องจองกัน เช่น


                                                                นกแก้วแจ้วแจ่มเสียง                        จับไม้เรียงเคียงคู่สอง

                                                 เหมือนพี่นี้ประคอง                                        รับขวัญน้องต้องมือเบา


                     ในบทนี้วรรคหน้าบาทแรก แก้ว สัมผัสกับ แจ้ว วรรคหลังบาทเอก เรียง สัมผัสกับ เคียง วรรคหลังบาทโท น้อง สัมผัสกับ ต้องเป็น

                     ค าสัมผัสชิด ส่วนวรรคหน้าบาทโท น้อง กับ คอง เป็นสัมผัสคั่น
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27