Page 14 - donnaya_thai
P. 14

๑.๒.๓.๑ ค าซ้ าแสดงความหมายเป็นพหูพจน์  ได้แก่ เด็ก ๆ หนุ่ม ๆ สาว ๆ เธอ ๆ     เป็นต้น

               ๑.๒.๓.๒ ค าซ้ าที่ให้ความหมายเชิงอุปมา ได้แก่ หมา ๆ (ไม่ดี) กล้วย ๆ (ง่าย ๆ) ผี ๆ  (ไม่ดี) หมู ๆ (ง่าย)

          เป็นต้น

               ๑.๒.๓.๓ ค าซ้ าที่เน้นความหมายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่ เล็ก ๆ น้อย ๆ สด ๆ เหม็น ๆ เย็น ๆ  อุ่น ๆ
          เป็นต้น

               ๑.๒.๓.๔ ค าซ้ าที่ท าให้ความหมายเบาลง มักเป็นค าซ้ าบอกสี ได้แก่ แดง ๆ ด า ๆ ขาว ๆ เขียว ๆ
          เหลือง ๆ เป็นต้น ค าซ้ าชนิดนี้บ่งบอกว่าผู้พูดไม่แน่ใจว่าเป็นสีนั้น ๆ ทีเดียว

               ๑.๒.๓.๕ ค าซ้ าที่แยกความหมายออกเป็นส่วน ๆ ได้แก่


                               แม่ค้าขายผลไม้เป็นเข่ง ๆ (ขายครั้งละเข่ง)

                               เดือน ๆ ดูผ่านไปเร็วเหลือเกิน (นับทีละเดือน)

                               แขกเหรื่อมาร่วมงานกันเป็นคันรถ ๆ (นับทีละคันรถ)

                ๑.๒.๓.๖ ค าซ้ าที่เปลี่ยนระดับเสียงเพื่อเน้นความหมายให้เด่นชัดยิ่งขึ้น ได้แก่ ค้าวขาว

          เป็นต้น





                     เดิมภาษาไทย เป็นการใช้ค าพยางค์เดียวและค าง่าย ๆ แต่เมื่อมีอิทธิพลต่าง ๆ เข้ามา ท าให้ต้องมี
          การสร้างค ามาใช้ โดยการสร้างค าโดยวิธีการน าวิธีการของภาษาอื่นมาใช้ ได้แก่ ภาษาบาลี สันสกฤต ภาษา
          เขมร และการสร้างค าที่เป็นวิธีการของภาษาไทย ได้แก่ ค าประสม ค าซ้อน ค าซ้ า ท าให้เรามีค าใช้แทนสิ่ง
          ต่าง ๆ ได้มากขึ้น
   9   10   11   12   13   14   15