Page 12 - donnaya_thai
P. 12

ค าซ้อน                ค าที่น ามาประกอบ                       ความหมาย

           ผิดถูก            ผิด                                   ไม่ตรงกับความจริงหรือที่ก าหนดนิยมไว้,
                                                                   ไม่ถูก

                             ถูก                                   ตรงกันกับความจริง, ไม่ผิด
           ยากง่าย           ยาก                                   ล าบาก, ไม่สะดวก, ไม่ง่าย

                             ง่าย                                  สะดวก, ไม่ยาก




                 ๒) ความหมายของค าซ้อนปรากฏอยู่ที่ค าใดค าหนึ่งหรือทุกค ารวมกันก็ได้
                      เป็นค าซ้อนที่มีความหมายไม่ตรงตามค าที่น ามาประกอบทุกค า แต่ความหมายอาจปรากฏที่ส่วน
           ใดส่วนหนึ่ง หรือทุกค ารวมกันแต่ไม่ได้มีความหมายครอบคลุมตามค าที่ปรากฏโดยสมบูรณ์ แต่มีความหมาย

           ขยายออกหรือแคบลงจากค าเดิม ในที่นี้เรียกว่าความหมายแบบ นามนัย
                 ๓) ความหมายของค าซ้อนเป็นความหมายเชิงเปรียบ

                      เป็นค าซ้อนที่มีความหมายไม่ตรงตามค าที่น ามาประกอบทุกค า แต่มีความหมายคง
           เค้าความหมายของค าเดิมในเชิงเปรียบเทียบ เช่น กลับกลอก อบรม ได้เสีย ฯลฯ
                 ๔) จ านวนค าในค าซ้อนอาจมีได้หลายค า

                         จ านวนค าที่น ามาซ้อนอาจมีมากกว่า ๒ ค า ก็ได้ โดยส่วนมากมักเป็นเลขคู่ เช่น
                         ค าซ้อน ๒ ค า ค าซ้อน ๔ ค า ค าซ้อน ๖ ค า หรืออาจมีมากถึง ๘ ค า ก็ได้

                 ๕) ค าที่น ามาซ้อนกันมีที่มาจากภาษาต่างกัน
                      ค าซ้อนในภาษาไทย ค าที่น ามาประกอบกันอาจเป็นค าซ้อนอาจเป็นค าที่มีที่มาคนละภาษาหรือ
           ภาษาเดียวกันก็ได้ เช่น ค าไทยกับค าไทย ค าไทยกับค าบาลี-สันสกฤต ค าบาลี-สันสกฤตกับค าบาลี-สันสกฤต

           ค าไทยกับค าเขมร ค าไทยกับค าภาษาอังกฤษ หรืออาจเป็นค า ไทยมาตรฐานกับค าไทยถิ่น ก็ได้



               ๑.๒.๒.๑ ค าซ้อนเพื่อความหมาย หมายถึง การน าค าที่มีความหมายเหมือนหรือคล้ายคลึงกันมาซ้อนกัน
           การสร้างค าซ้อนในลักษณะนี้ มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
                   ๑) ค าไทยซ้อนกับค าไทย เช่น เล็กน้อย ใจคอ ทุบตี หน้าตา เหี่ยวแห้ง บ้านเรือน เป็นต้น

                   ๒) ค าไทยซ้อนกับค าไทยถิ่น เช่น อ้วนพี เสื่อสาด คอยท่า สวยงาม อ่อนช้อย เป็นต้น
                   ๓) ค าไทยซ้อนกับค าต่างประเทศ เป็นการน าค าไทยมาซ้อนกับค าในภาษาต่างประเทศ เช่น

                       ก. ค าไทยซ้อนกับค าบาลีสันสกฤต เช่น จิตใจ หมั่นเพียร รูปร่าง ทรัพย์สิน เป็นต้น
                       ข. ค าไทยซ้อนกับค าเขมร เช่น เข้มแข็ง ฟ้อนร า หนองบึง ยกเลิก เป็นต้น
                   ๔) ค าต่างประเทศซ้อนค าต่างประเทศ เป็นการน าค าบาลีซ้อนค าสันสกฤต หรือค าเขมรซ้อนค าเขมร

           เช่น สุขสงบ มิตรสหาย เฉลิมฉลอง เลอเลิศ ทรัพย์สมบัติ เป็นต้น



                 ๑.๒.๒.๒ ค าซ้อนเพื่อเสียง หมายถึง การน าค าที่มีเสียงใกล้เคียงกันมาซ้อนกันเกิดค าที่มีความหมายใหม่
           เช่น เยอะแยะ ยิ้มแย้ม โซเซ มอมแมม โพล้เพล้ ลิบลับ จริงจัง พึมพ า เป็นต้น
   7   8   9   10   11   12   13   14   15