Page 8 - donnaya_thai
P. 8

ส  + จร          เป็น      สัญจร         ส  + ชาติ     เป็น  สัญชาติ

                     ถ้านิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ฏ ได้แก่ ฏ ฐ ฑ ม ให้เปลี่ยน    เป็น ณ
                               ส  + ฐาน        เป็น       สัณฐาน      ส  + ฐิติ      เป็น     สัณฐิติ



                     ถ้านิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ตได้แก่ ต ถ ท ธ ให้เปลี่ยน    เป็น น ดังนี้
                               ส  + ธาน     เป็น      สันธาน       ส  + นิบาต   เป็น    สันนิบาต



                     ถ้านิคหิตสนธิกับพยัยชนะวรรค ป ได้แก่ ป ผ พ ภ ให้เปลี่ยน    เป็น ม ดังนี้
                               ส  + ผสฺส    เป็น     สัมผัสส  ไทยใช้ สัมผัส

                               ส  + ภาษณ เป็น     สัมภาษณ์     ส  + ภว      เป็น     สมภพ



                       ๒) ถ้าค าที่ลงท้ายด้วยนิคหิตไปสนธิกับพยัญชนะเศษวรรค (พยัญชนะอวรรค) ให้เปลี่ยนเป็นดัง
          ก่อนแล้วจึงสนธิกัน  พยัญชนะเศษวรรค ได้แก่ ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ สนธิดังนี้
                               ส  + โยค     เป็น      สังโยค        ส  + วร  เป็น    สังวร

                               ส  + วาส     เป็น      สังวาส        ส  + หร      เป็น    สังหรณ์



                      ๓) ถ้าค าที่ลงท้ายด้วยนิคหิตไปสนธิกับค าที่ขึ้นต้นด้วยสระ จะต้องเปลี่ยน    เป็น ม  ก่อนแล้วจึง
          สนธิกัน เพื่อให้เสียงของค าเชื่อมกันสนิท
                               ส  + อาทาน   เป็น      สมาทาน     ส  + อิทธิ     เป็น     สมาธิ



                     การสนธิเป็นการเปลี่ยนแปลงเสียงเมื่อเสียง ๒ เสียงใกล้กัน และการเปลี่ยนแปลงเสียงนี้ จะ

          ปรากฏในค าสมาสและค าที่ลงอุปสรรคดังกล่าวแล้ว ดังนั้น การสนธิจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงเสียงเท่านั้น มีอยู่
          ในการสมาสและการลงอุปสรรค ไม่ใช่การสร้างค าใหม่



          ๑.๒ การสร้างค าตามวิธีของภาษาเขมร
              ๑.๒.๑ การลงอุปสรรค โดยการเติมหน่วยค าเข้าข้างหน้าค าเดิม ท าให้ค าเดิมพยางค์เดียวเป็น

          ค าใหม่ ๒ พยางค์
                     การลงอุปสรรค บ    ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น บัง บัน บ่า เช่น  เพ็ญ – บ าเพ็ญ, เกิด – บังเกิด
                     เมื่อ บ  อยู่หน้าวรรค กะ หรือ เศษวรรค จะอ่านว่า "บัง" เช่น บังคม , บังเกิด

                     เมื่อ บ  อยู่หน้าวรรค ตะ อ่านว่า "บัน" เช่น บันดาล , บันโดย, บันเดิน
                     เมื่อ บ  อยู่หน้าวรรค ปะ อ่านว่า "บ า" เช่น บ าบัด , บ าเพ็ญ, บ าบวง



              ๑.๒.๒ การลงอาคม โดยการเติมหน่วยค าเข้ากลาง ค าหลัก ท าให้ค าเดิมพยางค์เดียวเป็นค าใหม่ ๒
          พยางค์เรียกการลงอาคม

                     การลง     น (อ า น) ระหว่างพยัญชนะขึ้นของค า เช่น จง - จ านง  ทาย – ท านาย
                     การเติม     (อ า) ระหว่างพยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะประสม บางค าก็เปลี่ยนพยัญชนะต้นด้วย

          เช่น
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13