Page 117 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 117
637
เข้าใจผิดนะ เขามองผิดนะ เราคิดอย่างนี้ เราทาอย่างนี้ เราก็สงบ ๆ แล้วดูว่าทาอย่างไรได้ ดับความโกรธ นี่นะ...สาคัญมาก
เพราะว่าคนเราโดยปกติ เพราะมีเรามาตั้งแต่รู้ จาความได้ จาความได้ก็ยังไม่มีเราเท่าไหร่หรอกนะ จาความได้กี่ขวบ พอประมาณนะ พอเขาเอาอันนั้นมาล่อ อันนี้ของเธอ อันนี้ของเธอ อ้าว! พ่อแม่ก็ไปแย่ง ก็จะแย่งเล่น ของฉัน ๆ อันนั้นก็ไม่ให้ก็ร้องไห้จ้าขึ้นมา นั่นเริ่มแล้ว เริ่มความยึดว่าสิ่งต่าง ๆ ที่เข้ามาเป็น ของฉันของเรา ทั้ง ๆ ที่ไม่รู้เรื่องหรอก ไม่รู้อะไรมากมาย แต่ก็เริ่มจะยึดความเป็นของเรา ๆ ๆ ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน เพราะฉะนั้นคิดดูว่ากี่ปีแล้วนี่นะ ที่เห็นว่าเป็นเรา อยู่ ๆ จะละความเป็นเราด้วยใช้เวลาหนึ่ง ชั่วโมง ไม่ธรรมดานะ ใครเห็นไม่มีเราภายในหนึ่งชั่วโมงนี่นะ แสดงว่าปัญญาไม่ธรรมดา
แต่เพราะการที่ซึมซับมาเรื่อย ๆ อันนั้นก็ของเรา สิ่งรอบตัวเป็นของเรา วัตถุเป็นของเรา แต่ข้างใน ที่สาคัญก็คือว่า ข้างในรูปนามขันธ์ ๕ นี่นะเป็นของเรา นี่สาคัญที่สุด ตัวเรา ใจเรา ความคิดของเรา อันนี้ รูปเรา เวทนาเป็นของเรา สัญญาเป็นของเรา สังขารเป็นของเรา ปรุงแต่งมีแต่เรา ๆ แสดงความเป็นเจ้าของ หมด แต่พระพุทธเจ้าตรัสว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไม่ใช่ของเรา เพราะฉะนั้นการที่จะละได้ ชัดเจน ก็ถึงบอกดับความรู้สึกว่าเป็นเรา ละความเป็นอัตตา ละความเป็นอัตตา เพื่อเข้าสู่ความจริงความ เป็นอนัตตา แต่ว่าขันธ์ทั้งหลายยังทาหน้าที่อย่างเป็นอนัตตา ตรงนี้แหละสาคัญ
เพราะฉะนั้นการแยกรูปนาม การที่เราแยกกายแยกจิต ทาจิตให้ว่างให้กว้างกว่าตัว เห็นอะไร... ตรงไหนบ้างที่บอกว่าเป็นเรา รูปบอกว่าเป็นเราไหม จิตที่ทาหน้าที่รู้บอกว่าเป็นเราไหม ทาไมคาถามแบบนี้ จริง ๆ แล้วสาคัญมาก ๆ มันมีความหมายที่กว้างมาก ๆ เลย ถ้าเราเข้าใจนะ เราจะรู้สึกว่า เอ่อ! แล้วเราเมื่อ เป็นแบบนี้แล้ว ควรทาตัวอย่างไร ควรทาอย่างไร ทาอย่างไรเพื่ออะไร ควรทาตัวอย่างไร ทาใจอย่างไร ถาม ว่าทาเพื่ออะไร คาถามคือตรงนี้ ทาเพื่ออะไร ทาใจอย่างไรเพื่อที่จะไม่ให้หลงเข้าไปยึดอีก ควรทาใจอย่างไร ทาตัวอย่างไรเพื่อไม่ให้ไปขัดกับธรรมชาติ ขัดกับสัจธรรม ทาอย่างไรเพื่อที่เข้าใจให้เป็นไปตามธรรม เพื่อ ไม่ทุกข์กับสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ที่มีการเปลี่ยนแปลง แต่มันเป็นเรื่องยาก
เพราะอะไร ความเข้าใจของเรานี่นะ ส่วนใหญ่บางครั้ง เราไม่ได้พิจารณาจากสภาวธรรมออกไป ที่ อาจารย์บอกว่า เราไม่ได้พิจารณาจากสภาวธรรมที่เราเห็นออกไป...คือจิต สภาวธรรมที่เป็นปรมัตถธรรม ตรงที่จิตที่มันว่างไม่มีตัวตน ไม่มีรูป ไม่มีเรา ขันธ์ทั้ง ๕ ยังทาหน้าที่คิดก็คิดแบบไม่มีตัวตน คิด... ความคิดก็ไม่มีตัวตน มีเจตนาที่จะรู้เรื่องที่คิด คือเจตนาที่จะปรุงแต่ง ตัวสังขารที่เราใช้ เราปรุงแต่งอย่าง ไม่มีตัวตน ปรุงแต่งอย่างที่เราจะทางาน การวางแผนต่าง ๆ ก็ต้องปรุงแต่ง ต้องคิดหาเหตุหาผลปรุงแต่ง เพอื่ ทจี่ ะใหก้ ารนนั้ สมั ฤทธผิ์ ล อนั นตี้ อ้ งปรงุ แตง่ ปรงุ แตง่ เหมอื นนกั ศลิ ปะ นกั วาด ผเู้ ขยี นแบบ พวกอะไร... ต้องปรุงแต่งเป็น ถ้าปรุงแต่งไม่เป็น สร้างภาพไม่เป็น สร้างแบบต่าง ๆ ขึ้นมาไม่ได้ ผู้เขียนแบบเขียนผังก็ จะต้องมีจินตนาการ ด้วยอาศัยข้อมูลที่มีอยู่
เพราะฉะนั้นคือ เราคิดตามเหตุปัจจัยสิ่งนั้น ๆ จิตเรา การปรุงแต่งอย่างนั้นถามว่าเป็นกุศลเป็น อกุศล ปรุงแต่งแล้วไม่ได้ต้องเป็นอกุศลเสมอไป เขาเรียกปรุงแต่งด้วยปัญญา ปรุงแต่งด้วยอกุศลมี