Page 118 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 118
638
ตัวโลภะ โทสะ โมหะ เป็นตัวผลักดัน ปรุงแต่งด้วยปัญญา มีสติ สมาธิ มีปัญญา พิจารณาว่าสิ่งที่เราทานี้ เป็นไปเพื่ออะไร ผลที่ตามมาเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้นปรุงแต่งในบัญญัติ ต้องปรุงแต่ง ทาอาหารต้องปรุง ไหม ถ้าไม่ปรุงจะถูกลิ้นไหม ปรุงได้ก็ไม่ถูก ถ้าไม่ตักใส่ปาก ใช่ไหม เราก็ต้องปรุงเพื่อให้ถูกลิ้นหรือถูกใจ แตะที่ลิ้น ถูกใจ...เราก็รู้สึก เอ่อ! ถูกแล้ว ถูกลิ้นหน่อย
จริง ๆ ก็คือ นี่คือการปรุงแต่งอย่างหนึ่ง แต่ปรุงแต่งเพื่ออะไร การปรุงแต่งของเรา ปรุงแต่งด้วย สติ ด้วยปัญญา ก็จะเป็นการปรุงแต่ง อย่างที่เราทาความดีต่าง ๆ เราคิดหาวิธีเพื่อที่จะทาความดี ทาอย่าง นั้นทางกาย ทางวาจา ทางใจของเรา หาวิธีคิดปรุงแต่ง วิธีทา พูด คาพูดแบบไหนถึงจะดี ใช้คาพูดแบบไหน ถึงจะดี ถึงจะสุภาพให้เกียรติ มีความนุ่มนวล อ่อนโยน มีความเคารพผู้ฟัง เห็นไหม นี่ก็คือการหาคาพูด ที่ดีปรุงแต่งขึ้นมา สร้างคาขึ้นมาให้เกิดความ...เขาเรียกว่าเป็นอะไรนะ ปิสุณาวาจา ปิยวาจา วาจาที่ไพเราะ อ่อนหวานขึ้นมา เพื่อให้ฟังแล้ว คนฟังมีจิตความเป็นกุศลเกิดขึ้น คนฟังมีความรู้สึกสบายใจ มีความสุขใจ มีความอิ่มใจ มีความเบิกบานใจ ตรงนี้ก็ส่วนหนึ่ง
ปรุงแต่ง...เจตนา กลายเป็นว่าเจตนาที่จะปรุงแต่งอาการอย่างนี้ เมื่อเราปรุงแต่งหน้าตาเรา ใช้แบบ ไหน ใช้จิตแบบไหนปรุงแต่งหน้าตาให้ดูแล้วเกิดความสงบ ดูแล้วเกิดความผ่องใส เกิดความสบาย ใช้จิต ปรุงแต่งในการที่ขยับเคลื่อนไหวต่าง ๆ เขาเรียกอาการเหล่านี้ เขาเรียกรูปที่เกิดจากจิต อาการทางกายที่ ขยับเคลื่อนไหว รูปที่เกิดจากจิต จิตสั่งให้ขยับให้ทาแบบนั้นแบบนี้ เหมือนกิริยาอาการของเราต่าง ๆ กิริยา อาการ การหันซ้ายหันขวา การเดิน การยกมือ การเคลื่อนไหวต่าง ๆ เขาเคลื่อนไหวอย่างไร พอเรารู้ว่าการ เคลื่อนไหวที่อย่างสุภาพอย่างสารวม ต้องปรุงแต่งไหม...เรา
ทาไมถึงไม่เรียกปรุงแต่ง ถึงเรียกว่าการระวังการสารวม เห็นไหม การระวังการสารวม ทาไมถึงไม่ เรียกว่าการปรุงแต่ง บางคนกิริยาอาการเป็นไปโดยธรรมชาติ โดยธรรมชาติอย่างหนึ่งก็คือว่า ธรรมชาติ ของจริตของคน ๆ นั้น ไม่มีการปรุงแต่ง บางคนก็พกขวานก็ใช้ขวานผ่าซาก บางคนคาพูดเขาจะมีคาพูดที่ ไพเราะอ่อนหวาน อันนี้ก็คือธรรมชาติของแต่ละคน หรือจริตของแต่ละคน อย่างหนึ่ง
แตก่ ารปฏบิ ตั ธิ รรมของเรา เราพยายามปรบั แตง่ จติ ของเรา จรงิ ๆ แลว้ จติ ของเราปรบั แตง่ ไหม แตง่ อย่างไร คือกาหนดรู้ถึงการเกิดดับ ความผ่องใสของจิตตัวเอง จิตยิ่งดูยิ่งใสยิ่งเบา ถามว่า จิตดีไหม ดีแล้ว แตท่ า อยา่ งไรอาการทางกายวาจาถงึ จะดเี หมอื นจติ เรา อาการทางกายวาจาทเี่ กดิ ทา อยา่ งไรจะใหด้ ดู เี หมอื น จติ ของตนเองทกี่ า ลงั เปน็ อยู่ เราเหน็ จติ ของเรามคี วามผอ่ งใส เหน็ แลว้ รสู้ กึ ดี ใครเหน็ กร็ สู้ กึ ชอบ ทกุ คนเหน็ จติ ทผี่ อ่ งใส มคี วามนมุ่ นวลออ่ นโยนรสู้ กึ ดี แตค่ วามนมุ่ นวลออ่ นโยนนนี่ ะ ใหแ้ สดงออกทางกายไดไ้ หม ให้ แสดงออกทางวาจาได้ไหม
ถ้าเราลองดูว่า ถ้าจิตที่มีความผ่องใสนุ่มนวลอ่อนโยน แผ่ไปทั้งตัว ๆ หรือตัวนี้บรรจุด้วยเป็นพลัง เป็นก้อนพลังของความนุ่มนวลอ่อนโยน เวลาเราขยับ เวลาเราเคลื่อนไหวมองอะไร ลองดูอากัปกิริยานั้น จะเป็นอย่างไร เวลาเรามองความนุ่มนวลอ่อนโยนแล้วมันเป็นอะไร เป็นธรรมะ เป็นองค์ธรรมของความ เมตตา มีความนุ่มนวลอ่อนโยนมีความสุข เวลามองอะไรผ่านบรรยากาศความนุ่มนวลอ่อนโยนของตัวเอง ลองดูว่าทาแบบนี้ อาการมองสายตาที่มองออกไปเป็นอย่างไร อารมณ์ที่ผัสสะที่กระทบกับรูปที่อยู่ข้างหน้า