Page 120 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 120
640
ถ้าอยากให้ตั้งอยู่นาน เขาเรียกต้องทาความดีบ่อย ๆ ทาความดีบ่อย ๆ ก็สนใจจิตที่ดีอยู่แล้วบ่อย ๆ ดูเขา บ่อย ดูสภาพจิตที่ใสที่สงบเป็นระยะ ๆ ๆ ๆ ดูอยู่เรื่อย ๆ แล้วเอาจิตที่ใสที่เบานี่นะไปรับรู้อารมณ์
เพราะฉะนนั้ เมอื่ ไหรก่ ต็ ามทมี่ ผี สั สะขนึ้ มา ผสั สะกระทบขนึ้ มามนั วบื ทจี่ ติ ทใี่ สอยสู่ ลวั ลงนดิ หนงึ่ ดบั ลงไปสลัวลง เรารีบดับนี่นะ อกุศลที่เกิดขึ้นแล้วต้องรีบดับไป เพื่อชาระอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ดับไป พอเกิด ดับไปปึ๊บ ป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด...ทาอย่างไร เราป้องกันได้ด้วยจิตที่ว่างใสนี้กว้างกว่าอารมณ์ ป้องกัน อกุศลที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น ลองดูสิว่า ถ้าจิตที่เบาที่ว่างที่ใสกว้างกว่าอารมณ์ที่เกิดทางตา ทางหู ทาง จมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ แล้วมีเจตนาที่จะใช้แบบนี้ทุกอาการกับทุก ๆ อารมณ์ ลองดูป้องกันได้ไหม ป้องกันได้ด้วย... เมื่อไหร่ที่เรามีเจตนาที่จะใช้ แต่ในขณะเดียวกันเราก็ใช้ได้เป็นระยะเป็นช่วง ไม่นาน
แต่นี่แหละถึงบอกว่า เมื่อเราใช้ เราพยายาม เรามีเจตนา มีเป้าหมายที่จะใช้จิตแบบนี้ รักษาจิตที่ ดีแล้วให้ตั้งอยู่นานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่เมื่อไหร่ที่มันแทรกเข้ามา นี่แหละคืออกุศลที่ยังไม่เกิด...เกิด ขึ้น พอเกิดขึ้น หน้าที่เราก็ดับ พอดับเสร็จ ก็ยกจิตไปสู่จิตที่เคยเป็นที่เป็นกุศลอยู่แล้ว เพื่อเพิ่มพลังให้กับ จิตที่เป็นกุศลนั้น แล้วก็ทางานต่อไป นี่คือละ มีความเพียรคือใส่ใจดูจิตแบบนี้ ทาแบบนี้เรื่อย ๆ เพื่อละ อกุศลที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิด ที่เกิดขึ้นแล้วก็ป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น และกุศลที่มีอยู่แล้วให้ดี มากยิ่งขึ้น อันนี้ทางกาย ทางวาจา อันนี้คือทางใจ ที่ดีมากยิ่งขึ้น กุศลทางจิต กุศลจิต จิตที่เป็นกุศลมีกาลัง มากขึ้น คือ มีความตั้งมั่นขึ้น ใสขึ้น กว้างขึ้น โล่งขึ้น เบาขึ้น นี่คือตั้งมั่นขึ้น เบาขึ้น โล่งขึ้น กว้างขึ้น สงบขึ้น แล้วใช้งานเขาได้นานขึ้น ๆ นี่คือความตั้งอยู่ นี่คือการพัฒนาขึ้น
แล้วเราเข้าไปรู้ ดูจิตที่ว่าง ดูจิตที่เบา จิตที่ใส ยิ่งดูยิ่งใส ยิ่งว่างขึ้น เบาขึ้น สงบขึ้น นั่นคือเรียกว่า กุศลที่มีอยู่แล้ว ทากุศลที่มีอยู่แล้ว จิตที่เป็นกุศลอันนั้นให้มีกาลังมากยิ่งขึ้น ให้ดีมากขึ้น เจริญมากขึ้น พอจิตตรงนี้มีกาลังมากขึ้น กุศล กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม มโนกรรมทาได้ ตรงนี้คือจิตที่เป็นอย่างนี้ มโนกรรม อีกอย่างคืออะไร คือเจตนาของการกระทา ตรงนี้คือเป็นมโน จิตที่มีความผ่องใส มีความสว่าง ขึ้นมา มีความสะอาด มีกาลังขึ้นมา ทีนี้เจตนาในการกระทา การกระทา เจตนาในการคิด เป้าหมายของการ ที่เรากาลังคิดจะทาอะไร อันนี้เป็นความคิดที่ประกอบด้วยกุศล เจตนาที่เป็นกุศลอย่างหนึ่ง เจตนาที่เป็น กุศลเป็นอย่างไร เจตนาที่ดีด้วยความบริสุทธิ์ใจ
แต่เจตนานี้ต้องประกอบด้วยปัญญา วิธีการ...เจตนาที่ดีที่จะทาความดี แต่ก็ต้องประกอบด้วย ปัญญา...วิธีการที่จะทานั้น ทาอย่างไรถึงจะดี ทาอย่างไรถึงจะดีเหมาะสม ให้เกิดผลดีตามเจตนาที่ต้องการ ที่คิด อันนี้ต้องเกี่ยวกัน ไม่ใช่ใจดีแล้วคิดอะไรก็ทาด้วยเจตนาที่ดี แต่วิธีทาไม่ดีก็ส่งผลไม่ดี เพราะเป็น กายกรรม เป็นวจีกรรม เราเจตนาดี...พูด เจตนาดีที่จะพูด แต่วิธีพูด คาพูดไม่ดี คนฟังเป็นอย่างไร เพราะ นั่นคือไม่ใช่จิตไม่ดี เขาเรียกเจตนาเป็นกุศล แต่วิธีทาไม่เหมาะสมก็กลายเป็นอกุศลขึ้นมา แล้วเราก็มานั่ง คิดว่าเราก็มีเจตนาดีอย่างเดียว...ไม่ได้ นี่แหละตรงนี้คือต้องใช้ปัญญา ปัญญาที่ปรุงแต่ง หรือปัญญาที่ พิเคราะห์วิเคราะห์พิจารณาว่า ควรทาอย่างไรถึงจะเหมาะสม อันนี้ต้องใช้ไปควบคู่กัน