Page 128 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 128

648
การพัฒนาจิตให้ผ่องใส
ณ สานักวิปัสสนาพัฒนาทางจิต จ.ตรัง วันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
วันน้ีเป็นวันท่ีสองของการปฏิบัติ รู้สึกเหมือนเพ่ิงพูดธรรมะไปไม่ก่ีนาที เอาเป็นว่ามาปฏิบัติกันนะ เราปฏิบัติกันทาใจให้ว่าง ๆ เป็นการเดินทางไปสู่ปีใหม่ไทย ข้ามปี...ปีใหม่ไทย แล้วก็ข้ามบรรยากาศของ ความรู้สึก สภาพจิต ให้ข้ามพ้นจิตท่ีเป็นอกุศล ให้ข้ามพ้นจิตที่ขุ่นมัว ให้ไปเจอสภาพจิตท่ีผ่องใส มีความ สว่าง มีความโล่ง มีความเบา แล้วก็ให้จิตที่โล่งเบาเป็นตัวห่อหุ้มรูป ให้รูปนี้เข้าไปอยู่ในความเบาอันนั้น เหมือนเราเปลี่ยนมิติใหม่ เปลี่ยนความรู้สึกใหม่ ไปกับปีใหม่ ปีเก่าที่ผ่านไปอะไรที่ไม่ดีก็ปล่อยให้ผ่านไป เพ่ือที่เราจะเข้าไปดู ดูอย่างไร การที่จะทาแบบนั้น คือการดูสภาพจิตเรา
การดูสภาพจิต คือการดูจิตเรา ทาใจเราให้สบาย ๆ สานต่อจากสภาวธรรมเมื่อตอนกลางวันที่เรา ทานี่แหละ อย่างท่ีดูว่าจิตเราว่าง จิตเบา จิตสงบ จิตมีความตั้งม่ัน จิตมีความผ่องใส อันน้ีขึ้นอยู่กับสภาพ จิตของตนเอง เพราะฉะนั้นขณะนี้ เราเร่ิมต้นจากจุดน้ี ดูสภาพจิตท่ีขณะนี้ว่าเป็นอย่างไร น่ิง ๆ หลับตา พิจารณาดูที่จิตก่อน พอเราน่ิงดูท่ีจิต จิตมันว่าง จิตสงบ มีความคิด มีอาการเกิดดับ หรือมีความสว่าง
ทีนี้วิธีทา...วิธีพิจารณาก็คือว่า พอเราเริ่มจากปัจจุบันแบบนี้ เร่ิมจากดูจิต ณ ปัจจุบันว่าขณะนี้จิต เป็นอย่างไร ซึ่งการดูจิตแบบน้ีเราสามารถยกจิตได้ ถ้าเรารู้แล้วจิตน้ีมันไม่สงบ ไม่เบา ไม่สว่าง ไม่โล่ง รู้สึก มันทึบ ๆ ตื้อ ๆ ตึง ๆ แคบ ๆ ถ้ารู้สึกต้ือ ๆ ตึง ๆ แคบ ๆ ขยายความรู้สึกให้กว้างออก ขยายไปตรงไหน ไปขา้ งหนา้ ไมไ่ ด้ ขยายออกดา้ นขา้ ง บางทสี ง่ ไปขา้ งหนา้ ไกล ๆ ไมไ่ ด้ ใหอ้ อกดา้ นขา้ ง ใหก้ วา้ งออกดา้ นขา้ ง... ออกไป เพื่ออะไร...เพื่อทาให้จิตเกิดความเบา ความคลาย เป็นการคลายอาการเคร่งตึง ความตึงที่เกิดขึ้น เกิดจากความคิด เกิดจากความกังวล หรือความตึงที่เกิดข้ึน เกิดจากอาการทางร่างกายเอง ไม่ว่าจะเกิด จากความคิด เกิดจากความกังวล เกิดจากร่างกายเคร่งตึง
แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่รู้สึกว่าตึงแล้ว จิตเราแคบ...ตึง ร่างกายตึงจิตแคบ เราก็ขยายจิตให้กว้างออก แต่ ถ้าร่างกายตึง หรือความรู้สึกอาการเคร่งตึง เกิดจากความคิด ความกังวล จิตก็แคบอีก ก็ขยายความรู้สึก ใหก้ วา้ งออก จติ ใหก้ วา้ งออกเหมอื นเดมิ ทา จติ ใหผ้ อ่ นคลาย ทา จติ ใหผ้ อ่ นคลาย คอื การปลอ่ ยวางละความ


































































































   126   127   128   129   130