Page 15 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 15
535
ทาหน้าที่รับรู้และกว้างกว่า กว้างกว่าอารมณ์นั้น ความใสของเรารู้สึกเป็นอย่างไร จิตที่ใส...แล้วก็สังเกต จิตที่ใส จิตที่ใสทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ แล้วรู้สึกอย่างไร ถ้าใช้จิตที่ใสทาหน้าที่รับรู้กว้างกว่าอารมณ์ ต่าง ๆ เขาใสเท่าเดิมหรือใสมากขึ้น ใสเท่าเดิมหรือใสมากขึ้น หรืออีกอย่างหนึ่ง ความใสเขาตั้งอยู่นานขึ้น ไหม ทีนี้ ขณะที่เรารับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ไปสักพัก เผลอ! ไม่ได้ดูความใสตัวเอง พอรู้สึกตัวขึ้นมาก็มารู้สภาพ จิตเราต่อเลย จิตที่ใสยังกว้างอยู่ไหม ยังใสอยู่ไหม สภาพจิตเรายังใสอยู่ไหม หรือว่าเขาสลัวลงมัวลง ตรง นั้นสังเกตแบบนี้ ถ้ารู้สึกว่าสลัวลงมัวลงก็ยกจิตใหม่ทาให้กว้าง แล้วก็ไปรู้ที่ความใสต่อ
ทนี กี้ ารทจี่ ะไปรกั ษาความใสจติ ทใี่ ส การทจี่ ะประคองจติ ใหใ้ สอยไู่ ดน้ าน เราตอ้ งรอู้ ยา่ งหนงึ่ วา่ ขณะ ที่จิตใส ขณะที่สภาพจิตใสหรือผ่องใสนี่นะ สติเป็นอย่างไร มีความตื่นตัว มีความเบิกบาน มีความตั้งมั่น หรือซึม ๆ อันนี้ต้องสังเกตนะ ถ้าเรารู้ว่าจิตใสเมื่อไหร่ หรือถ้าเราเห็นว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่จิตเราใส ขณะที่จิต ผ่องใส จิตจะตั้งมั่นตื่นตัว เพราะฉะนั้น เมื่อจิตเขาเริ่มสลัวลงไม่ตั้งมั่นไม่ตื่นตัวไม่ผ่องใสปุ๊บ เพิ่มความ ตื่นตัวเข้าไป ยกจิต! เพิ่มความรู้สึกที่ตื่นตัว...ลองดู เพิ่มความตื่นตัวปุ๊บ จิตเรารู้สึกเป็นอย่างไร ใสขึ้นไหม สว่างขึ้นไหม อ้อ! สว่างขึ้น บางครั้งแค่สว่างแต่ไม่ใส สว่างไม่ใสก็มี ทีนี้สว่างแล้วไม่ใส ตื่นตัวอย่างเดียว ขาดความตงั้ มนั่ ไมต่ งั้ มนั่ ไมน่ งิ่ พอ เรากใ็ สแลว้ กส็ วา่ งแลว้ กเ็ พมิ่ ความนงิ่ ใหค้ วามรสู้ กึ ทสี่ วา่ งเองนนั่ แหละ... นิ่ง ไม่ใช่ดูเป็นผู้ดูความสว่าง แต่ความรู้สึกที่สว่างเองเขานิ่ง พอนิ่งปุ๊บลองดูว่า จากที่สว่างอยู่เขาเปลี่ยนไป อย่างไร ใสขึ้นไหม อันนี้คือการพัฒนาจิตเพิ่มขึ้น ไม่ใช่แค่ประคอง เป็นการยกจิตขึ้นมา
หรือถ้าเราจะทาแบบนี้ให้ต่อเนื่อง เพื่อเป็นการรักษาจิตที่ดีอยู่แล้วให้ดีต่อเนื่องไปนาน ๆ ก็สังเกต แบบนี้ ทนี ขี้ ณะทจี่ ติ เรา เหตทุ ที่ า ใหจ้ ติ เราขนุ่ มวั ไมผ่ อ่ งใสไมส่ วา่ ง เพราะวา่ เราตอ้ งรอู้ ยวู่ า่ ทขี่ นุ่ มวั ไมผ่ อ่ งใส เพราะอะไร มีตัวตนมีความเป็นเรามีกิเลสเข้ามา เพราะฉะนั้นต้องเริ่มต้นรู้สึกเมื่อไหร่ก็ตาม เมื่อไหร่ก็ตาม ที่รู้สึกว่าจิตเราขุ่นมัวแล้วนะ มาดูแล้วมีตัวตนมีความรู้สึกว่าเป็นเราไหม นี่นะ! ถ้ามีปุ๊บเอาความรู้สึกว่า เป็นเราดับความรู้สึกว่าเป็นเรา แล้วยกจิตขึ้นมาให้กว้างก่อน แยกรูปแยกนามปุ๊บ ความรู้สึกว่าเป็นเราหาย ไป ยกจิตขึ้นมาให้รู้สึกว่างแล้วนิ่ง พอนิ่ง! จับที่ความรู้สึกที่นิ่งอีก ดูจิตที่นิ่งเหมือนที่เคยทา ทาแบบนี้ซ้า ๆ รู้สึกตัวขึ้นมาเมื่อไหร่ก็กาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้ รู้สึกตัวเมื่อไหร่ก็ทาแบบนี้ เผลอแล้วก็แล้วไป รู้สึกตัว เมื่อไหร่ก็รีบจัดการ เพราะเผลอมันเป็นเรื่องปกติ คนเราต้องเผลอบ้างอยู่แล้ว ไม่มีใครไม่เผลอเลย แต่ เมื่อรู้สึกตัวแล้วยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิตของเราให้เบา ให้ว่าง ก็จะผ่องใสขึ้นได้ง่าย คือเรียกว่ายกจิตได้ เร็วขึ้น ทาให้เรายกจิตได้เร็วขึ้น แต่ถ้าเรามัวแต่กังวลว่าเดี๋ยวลืมเดี๋ยวไม่ลืมเดี๋ยว... กลายเป็นว่ายิ่งกังวล ยิ่งมีตัวตน ยิ่งกังวลจิตก็ยิ่งแคบลง ตัวตนก็ยิ่งเยอะขึ้นหรือนานขึ้นตั้งอยู่นานขึ้น
เพราะฉะนั้นดับความรู้สึกว่าเป็นเราแล้วก็ยกจิต นี่คือวิธีการประคองจิต ประคองจิตตัวเองและ ก็วิธีการรักษา ทั้งประคองจิตทั้งรักษา เพราะว่าการที่จะทาจิตของเราให้อยู่แบบนี้ นิ่งเสมอตลอดเวลานี่ นะไม่ง่าย เพราะเป็นของไม่เที่ยง มีแต่ต้องพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้ดีขึ้น หยุดอยู่กับที่ไม่ได้ เพราะอารมณ์ เปลี่ยนแปลง สิ่งต่าง ๆ รอบตัวก็เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุปัจจัย ทั้งเวลาทั้งตัวเราเองก็เปลี่ยน โดยเฉพาะ ตัวเราเอง ร่างกายเราเปลี่ยนวิธีคิดเราเปลี่ยน แต่ถ้าเปลี่ยนตามความเข้าใจของสภาวธรรมมันก็จะเปลี่ยน เป็นปล่อยวางมากขึ้น สบายขึ้นเบาขึ้นโล่งข้ึน แต่ถ้าเปลี่ยนในลักษณะที่มีกิเลสเข้ามาเป็นตัวบีบคั้น มันก็