Page 190 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 190
710
จนแบบ...สงบแล้วตัวเองก็งงเลย สงบแล้วไปอย่างไรต่อ บางทีสงบแล้วมีพลังมีอารมณ์ฌาน อันนี้คือมา ใช้งาน อีกอย่างหนึ่ง ก็คือเขาเรียกวิปัสสนากรรมฐาน อย่างที่เรากาลังปฏิบัติอยู่ วิปัสสนากรรมฐาน ตาม หลักเขาเรียกสติปัฏฐาน ๔ นี่นะ เรามีอารมณ์ ๔ อย่าง เป็นอารมณ์หลักของการปฏิบัติ เป็นอารมณ์หลัก ของจิตที่อาศัยในการกาหนดรู้ เพื่อที่จะเรียนรู้ทาความเข้าใจ หรือให้เห็นชัด เห็นถึงความเป็นไปของอาการ อารมณ์ทั้ง ๔ อย่าง
ทีนี้ต้องทาความเข้าใจอย่างหนึ่งว่า คาว่าอารมณ์ทั้ง ๔ อย่างนี่นะเป็นอะไร อารมณ์ทั้ง ๔ อย่างที่ บอกว่ากาย เวทนา จิต ธรรม จริง ๆ ก็คือเป็นธรรมชาติของชีวิตเรา เป็นอาการของรูปนามขันธ์ ๕ เป็น อาการทางกายแลว้ กจ็ ติ ยอ่ ลงมาเหลอื อาการของกาย จติ เรา คอื เปน็ ธรรมชาตขิ องชวี ติ คนเรา ทนี ที้ า ไมตอ้ ง ใช้อารมณ์ทั้ง ๔ อย่างนี้ในการเจริญกรรมฐาน เพราะอาการทางกาย เวทนา จิต และธรรม ๔ อย่างนี้เขาจะ เวียนเข้ามาในชีวิตของเรา อาการ ๔ อย่างนี้ จะเวียนสลับกันเกิดขึ้นมาในชีวิตของเรา หรือจะเวียนกันสลับ เข้ามาในขณะที่เรานั่งสมาธิ ในขณะที่เราเดินจงกรม เป็นปกติเอง
สงั เกต...เพราะฉะนนั้ เวลาเรานงั่ อาการทางกายอยา่ งทบี่ อกวา่ อาการของลมหายใจ อาการของพอง ยบุ อาการเตน้ ของหวั ใจ อาการเครง่ ตงึ อาการกระเพอื่ มไหวตา่ ง ๆ เขาจะเกดิ ขนึ้ สลบั กนั ไปมา แลว้ กม็ คี วาม ปวด แล้วก็มีความคิด แล้วก็มีอาการ สภาวธรรมที่เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมา เขาจะวนอยู่อย่างนี้เรื่อย ๆ แล้ว ก็มีความว่าง ตรงนี้...ความว่างคืออะไร คือจิตที่ว่าง ๆ ตรงนี้แหละ จึงเรียกว่าสภาธรรม เขาจะวนมา เรื่อย ๆ แต่เป็นอารมณ์ที่เราต้องอาศัย ถ้าเราอาศัยอาการนี้จะทาให้สติเราดีขึ้นเรื่อย ๆ เรียนรู้ถึงธรรมชาติ ตรงนี้ เป็นอาการของกายของจิต และอาการเหล่านี้เราไม่ต้องปรุงแต่ง เห็นไหมเราไม่ต้องมานั่งคิดสร้าง หรอก ไม่อยากจะคิดเขาก็คิด สังเกตว่าความคิดเองนี่นะ ไม่อยากจะคิด อยู่ ๆ ก็มา อยู่ ๆ ก็เกิด กลาย เป็นว่านี่คือธรรมชาติเป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
ทนี ที้ า อยา่ งไร ทนี ใี้ นการปฏบิ ตั ิ การทเี่ รากา หนดรู้ เรากม็ าดวู า่ ทา ไมอาการอยา่ งนเี้ รยี กอกี อยา่ งหนงึ่ คืออะไร อาการของรูปนาม กายใจ เป็นอาการของขันธ์ทั้ง ๕ สังเกตไหม รูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณ เหน็ ไหม รปู คอื อะไร คอื รา่ งกาย อาการทางกายทเี่ กดิ ขนึ้ จดั เปน็ อาการของรปู แลว้ เวทนากเ็ กดิ ขนึ้ มา นงั่ ไป แล้วก็เวทนาบางครั้งก็เกิดขึ้นมา กลายเป็นขันธ์ ๆ หนึ่ง แล้วก็ความคิดความจาเรื่องราวเก่า ๆ ระลึกได้อยู่ ตรงนี้เขาเรียกตัวสัญญา พอมีความคิดขึ้นมาแล้วปรุงแต่งต่อ เห็นอะไรก็ปรุงแต่งต่อ คิดต่อ ปรุงแต่งต่อ อันนั้นเป็นสังขาร เขาเรียกเป็นจิตตสังขาร การปรุงแต่งทางจิตเรา
ลองดนู ะวา่ สงั ขารรา่ งกายนนี่ ะ อาการทางกายทมี่ คี วามเปลยี่ นไปเสอื่ มไป สว่ นใหญเ่ ราไมค่ อ่ ยทกุ ข์ เท่าไหร่หรอก เว้นแต่เหตุหนัก ๆ ใหญ่ ๆ เท่านั้นเองที่ทุกข์ แต่ที่ทุกข์มากคือจิตตสังขาร การปรุงแต่งทาง จิตของเรา คิดโน่น คิดนี่ คิดมากก็ทุกข์มาก คิดแล้วปล่อยวางไม่ได้ คิดแล้วก็ยึด ๆ เลยทาให้ติดอยู่ในใจ ของเรา แล้วก็มีความทุกข์ ๆ ขึ้นมา ตรงนี้แหละเป็นอะไร กลายเป็นเวทนาทางจิต เป็นทุกขเวทนาทางจิต เกดิ ขนึ้ มา เพราะฉะนนั้ กายเวทนาจติ และธรรม จงึ เปน็ เรอื่ งปกตขิ องชวี ติ เรา เพราะฉะนนั้ ครบู าอาจารยท์ า่ น ย่อลงมาให้เหลือน้อย ๆ เราจะได้ไม่ต้องไปหาอะไรมาก เป็นเรื่องของชีวิตเรา ตรงนี้แหละการรู้แบบนี้