Page 192 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 192

712
เราสังเกตอะไร สังเกตกฎธรรมชาติของรูปนาม กฎธรรมชาติคือความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา คือ เป็นอาการพระไตรลักษณ์ ความเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตา อนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ และอนัตตลักษณะ ตรงนี้เขาเรียกว่า ถ้าตามหลักของวิปัสสนา ถ้าพิจารณาถึงไตรลักษณะ ไตรลักษณะคือ ทุกขลักษณะ อนิจจลักษณะ อนัตตลักษณะ
คือทุกขลักษณะนี่นะ ทาความเข้าใจนิดหนึ่งว่า ถ้าอนิจจลักษณะเราจะเข้าใจได้ง่าย เพราะความ ไม่เที่ยง ความไม่เที่ยงมีความเปลี่ยนแปลงแปรปรวน แปลว่าธรรมชาติที่แปรปรวนและเปลี่ยนแปลงอยู่ เรื่อย ๆ อะไรที่แปรปรวนเปลี่ยนแปลง ก็คือธรรมชาติของรูปของกายเรา อาการของกายเวทนาจิตและ สภาวธรรม มีการเปลี่ยนแปลง เหมือนลมหายใจเกิดขึ้นมาแล้วก็เปลี่ยนไป ไม่ได้ยาวเท่าเดิมตลอดเวลา ไม่ชัดเท่าเดิมตลอดเวลา ไม่ได้แรงเท่าเดิมตลอดเวลา แล้วไม่ใช่เบาเท่าเดิมตลอดเวลา นี่คือการสังเกต ความเปลี่ยนแปลง ตรงนี้คือเห็นความไม่เที่ยง
เพราะฉะนั้น เวลาตามกาหนดรู้อาการของลมหายใจ หรืออาการพองยุบ เราก็ต้องสังเกตการ เปลี่ยนแปลงของเขา ทีนี้เราจะเคยได้ยินว่า การตามรู้ลมหายใจ แม้แต่อานาปานสติ ที่เรามักจะฟัง ได้ยิน ไดฟ้ งั วา่ ทา่ นบอกวา่ หายใจเขา้ ยาวกร็ วู้ า่ ยาว หายใจเขา้ สนั้ กร็ วู้ า่ สนั้ หายใจออกยาวกร็ วู้ า่ ยาว หายใจออกสนั้ กร็ วู้ า่ สนั้ แตเ่ รากพ็ ยายามบงั คบั ใหย้ าวเทา่ กนั ตลอด หรอื บงั คบั ใหส้ นั้ เทา่ กนั ตลอด ทงั้ ๆ ทยี่ าวกใ็ หร้ วู้ า่ ยาว ก็คือรู้การเปลี่ยนแปลงไปนั่นเอง พอตรงนี้รู้การเปลี่ยนเขายาวก็ยาว สั้นก็สั้น ตามรู้ เร็วก็เร็ว ช้าก็ช้า บางก็บาง ให้รู้การเปลี่ยนแปลง นั่นคือรู้ความไม่เที่ยงของลมหายใจ รู้อาการพระไตรลักษณ์
เพราะฉะนั้นจะใช้คาบริกรรมพุทโธ หรือไม่ใช้ก็ได้ อันนี้คือ รู้ความไม่เที่ยง ความเปลี่ยนแปลง เพราะ ฉะนนั้ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถงึ อะไร กฎไตรลกั ษณข์ องขนั ธท์ งั้ ๕ ใชไ่ หม ทเี่ ราสวนมนตก์ นั นนี่ ะ ขนั ธไ์ มเ่ ทยี่ ง... ทเี่ ราฟงั กนั สว่ นใหญ.่ ..เวลาแสดงธรรมอภธิ รรมตา่ ง ๆ กค็ อื เรอื่ งของรปู นามขนั ธ์ ๕ เปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง ธรรมอนั ยงิ่ และเปน็ ตวั ทเี่ ปน็ ไปเพอื่ ความดบั ทกุ ข์ เปน็ สงิ่ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งใสใ่ จ เรยี นรู้ ทา ความเขา้ ใจ เพอื่ ออกจากทกุ ข์
ทนี เี้ รอื่ งความเปลยี่ นแปลงนนี่ ะเราเขา้ ใจ เพราะฉะนนั้ เวลาเรานงั่ กรรมฐานนนี่ ะ เวลาเรานงั่ กรรมฐาน กลบั มายกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง จงึ บอกใหร้ วู้ า่ ดนู ะ...วา่ ยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง แลว้ พจิ ารณาดวู า่ ทกี่ ายเรา อาการ ของลมหายใจเปลี่ยนไปอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร พองยุบมีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร อันนี้คือ อยู่ที่อาการไหนปรากฏขึ้นมา คาถามตรงนี้แหละ ตอนที่ผู้ปฏิบัติ โยคีปฏิบัติตามเข้าไปกาหนดรู้ความ เปลี่ยนแปลง ตรงนี้เขาเรียกว่าธัมมวิจยะ แปลว่าการสอดส่องธรรม การทาวิจัยธรรมด้วยตัวเอง ให้เห็น ด้วยตัวเอง ไม่ใช่แค่...คิดว่า อ๋อ!เป็นอย่างนี้เอง เขาว่ามา แล้วก็เป็นตามเขา
ตรงนี้เป็นการแก้ปัญหา แก้ตรงที่ว่าไม่เชื่อตาม ๆ กันมา เอ่อ!ไม่เชื่อเพราะว่าอาจารย์พูดให้ฟัง ไม่ เชื่อเพราะว่าอ่านมาหรือได้ฟังมา เชื่อเพราะว่าได้เห็นแล้วว่าเป็นแบบนี้ เป็นอย่างไร เห็นอะไร เห็นธรรมะ เหน็ สภาวธรรม ตามคา สอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เราไมค่ ดิ เอาเอง ๆ เพราะฉะนนั้ อนั นเี้ ปน็ อาการของกาย เป็นอาการของรูปขันธ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ รู้แบบนี้ รู้แบบสบาย ๆ ไม่ต้องเครียด ไม่ ต้องหงุดหงิดหรอก ถ้าไม่ได้ดั่งใจ ก็ให้รู้ว่ามันไม่ได้ดั่งใจนะ ใช่ไหม...สภาวะ


































































































   190   191   192   193   194