Page 25 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 25

545
มีแล้วต้องหายไป ที่สาคัญก็คือว่าลักษณะการเกิดและการดับไปของแต่ละขณะของลมหายใจนั้นมี ความต่างกันอย่างไร นี่คือเป้าหมายของการเจริญกรรมฐานในการตามรู้ลมหายใจเข้า-ออก
ทีนี้ การตามรู้ดูกายในกายนั้น มีแค่ลมหายใจเข้าออกอย่างเดียว หรือมีอารมณ์อื่นด้วย ? นอกจาก ลมหายใจเข้าออกก็จะมีอาการพองยุบ เวลาเราหายใจเข้าท้องพองออก หายใจออกท้องยุบลง อันนี้ก็ขึ้น อยู่กับความถนัดของแต่ละคนหรือธรรมชาติของแต่ละคน ธรรมชาติของแต่ละคนอย่างไร ? บางคนเวลา หายใจเขา้ -ออกรสู้ กึ ชดั ถงึ ลมหายใจเขา้ -ลมหายใจออก แตบ่ างคนขณะทหี่ ายใจเขา้ -ออกนนั้ จะรสู้ กึ ถงึ อาการ กระเพื่อมไหวที่ท้อง ไม่รู้สึกถึงลมหายใจเข้า-ออก แค่รู้ว่าหายใจเข้าแล้วท้องพองออก หายใจออกแล้ว ท้องยุบลง นั่นคือตาแหน่งที่ชัดที่สุดสาหรับแต่ละคนนั้นมีความแตกต่างกัน แต่ก็อาศัยสิ่งเดียวกันคือการ หายใจเข้า-ออกนั่นเอง
เพราะฉะนั้น ใครที่รู้สึกว่าหายใจเข้าท้องพองออก-หายใจออกท้องยุบลง ก็ตามกาหนดรู้อาการ กระเพื่อมไหวที่ท้อง อาการพองออกยุบลง ตามรู้อย่างไร ? ตามรู้เหมือนตามลมหายใจเลยนั่นแหละ ตาม รู้อาการเกิดดับของการพองจนสุดแล้วก็ยุบจนสุดไปหมดไปว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ในพองมีอาการ อย่างไร... ขณะที่พองออกไป เป็นเส้นไป หรือว่านิ่ง ๆ ออกไป หรือว่ามีอาการสะดุด ๆ หรือเป็นจุดไข่ปลา หรือเป็นจุดประ ๆ ไป นี่ก็คือสังเกตการเปล่ียนแปลง ที่สาคัญคือเป้าหมายของการกาหนดรู้คือ รู้การ เปลี่ยนแปลง การเกิดขึ้น-การตั้งอยู่-การดับไป ความต่างไปของลมหายใจเข้า-ออก ของอาการพองยุบ นี่ คือการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เน้นที่รู้อาการพระไตรลักษณ์คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป
แล้วนอกจากลมหายใจ นอกจากอาการพองยุบ มีอาการอื่นอีกไหมที่อาศัยเกิดขึ้นตามร่างกายของ เรา ที่บอกว่าดูกายในกาย ? ก็มีอาการเต้นของหัวใจ หรืออาการของชีพจรที่กาลังปรากฏชัดบริเวณกาย หรือบริเวณตัวของเรา ตรงนั้นก็เป็นอาการของกายอย่างหนึ่งที่ปรากฏเกิดขึ้น แต่ไม่ว่าอารมณ์ไหนปรากฏ ช ดั ข นึ ้ ม า ก ข็ อ ใ ห ม้ เี จ ต น า ท จี ่ ะ ร ก้ ู า ร เ ก ดิ ข นึ ้ - ต งั ้ อ ย -่ ู ด บั ไ ป ข อ ง อ า ร ม ณ น์ นั ้ ๆ เ ป น็ ส า ค ญั น คี ่ อื อ า ร ม ณ ก์ ร ร ม ฐ า น อยา่ งหนงึ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ ถงึ บอกวา่ การดกู ายในกาย ดอู าการทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในรา่ งกายของเราวา่ มกี ารเปลยี่ นแปลง ห ร อื เ ก ดิ ด บั อ ย า่ ง ไ ร แ ล ะ ใ น ข ณ ะ ท เี ่ จ ร ญิ ก ร ร ม ฐ า น อ า ร ม ณ อ์ กี อ ย า่ ง ห น งึ ่ ท จี ่ ะ ป ร า ก ฏ เ ก ดิ ข นึ ้ ม า ก ค็ อื เ ว ท น า ม ี ความเจ็บปวด เมื่อย ชา คันเกิดขึ้นมาตามร่างกายของเรา
ความเจ็บปวด เมื่อย ชา คันที่ปรากฏเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดบริเวณไหนของร่างกายก็ตาม ในการ เจริญวิปัสสนากรรมฐานนั้น ท่านมีเป้าหมายให้พิจารณาอาการเกิดดับของเวทนานั้น ๆ เมื่อมีความปวด เกดิ ขนึ้ ใหม้ สี ตเิ ขา้ ไปกา หนดรดู้ วู า่ ความปวดนนั้ มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ดบั ในลกั ษณะอยา่ งไร พออาการคนั เกิดขึ้น มีการเกิดดับอย่างไร เมื่อย/ชาขึ้นมาก็มีสติเข้าไปกาหนดรู้ตามรู้อาการเกิดดับ ความไม่เที่ยงความ เปลี่ยนแปลงความเปลี่ยนไปของเวทนา ตรงนี้เขาเรียกว่า “เวทนานุปัสสนา” ตามรู้อาการของเวทนาที่กาลัง ปรากฏอยู่เฉพาะหน้าเราว่ามีความเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างไรเป็นสิ่งสาคัญ ไม่ว่าอาการไหนเกิดขึ้นมาก็ พิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป อันนี้พูดถึงเวทนาทางกาย


































































































   23   24   25   26   27