Page 30 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 30

550
ขันธ์หนึ่งของขันธ์ห้า เขาเรียกว่าเป็น “เวทนาขันธ์” เป็นเวทนาทางกาย ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา ไม่ใช่ใคร แต่เป็น ขันธ์ขันธ์หนึ่งที่กาลังประกาศตนเองว่าเป็นแบบนี้ แบบนี้...
เพราะฉะนั้น เวลามีเวทนาเกิดขึ้นในขณะที่เรานั่งสมาธิ หรือจะอยู่ในอิริยาบถไหนก็ตาม ถ้าเรา ศึกษาธรรมะ ก็พึงพิจารณาดูว่าเวทนาที่เกิดขึ้นมานั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร พิจารณาว่าเวทนา ก็ไม่ใช่ของเรา เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป การมีเจตนาพิจารณาอย่างนี้ การที่เวทนาทางกายจะบีบคั้นจิตใจให้ เกิดความหดหู่ ขุ่นมัวเศร้าหมอง มีความอึดอัด ก็จะบรรเทาเบาบางลดลงไป หรือแม้แต่ที่สุดแล้ว เมื่อสติ แก่กล้า ปัญญามีความเฉียบคมชัดเจน ก็จะเห็นว่าเวทนาที่ปรากฏขึ้นมากับจิตแยกส่วนกัน เห็นว่าเวทนา เกิดอยู่บริเวณตัว แต่ก็ไม่มีตัว เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ เห็นชัดว่าเวทนาก็อยู่ส่วนเวทนา ไม่ใช่เรา เวทนาก็ไม่ สามารถบีบคั้นจิตใจได้ จิตจึงเกิดความผ่องใส เบิกบานขึ้นมา
เพราะฉะนนั้ การพจิ ารณาถงึ ความเปน็ คนละสว่ นระหวา่ งจติ กบั เวทนาจงึ มคี วามสา คญั เพราะอะไร ? เพราะการที่เราเจตนาที่จะกาหนดรู้แบบนี้จะเป็นการละเป็นการคลายอัตตา เป็นการละเป็นการคลายความ มีตัวตนความเป็นเรา เขาเรียกว่าละอัตตา-ความเป็นเราเป็นเขาออกไป เหลือแต่สติ-สมาธิ-ปัญญาพิจารณา ถึงความเป็นไปของเวทนาที่กาลังปรากฏว่าเป็นไปในลักษณะอย่างไร เกิดดับอย่างไรเท่านั้น เพราะฉะนั้น การรู้อย่างนี้เป็นการรู้ที่พ้นจากการปรุงแต่ง เหลือแต่สติ-สมาธิ-ปัญญาที่ใส่ใจพิจารณาถึงความเป็นไป ของรูปนามขันธ์ห้าที่เป็นสัจธรรมจริง ๆ เป็นธรรมชาติจริง ๆ ที่ปรากฏเกิดขึ้น
ในทานองเดียวกัน ความคิดที่เกิดขึ้นก็เช่นเดียวกัน อย่างที่บอกแล้วการดูจิตในจิต รู้ว่าคิดอะไร รู้ วา่ จติ ใจเปน็ อยา่ งไร จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ มู้ กี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร ถา้ เราสงั เกตแบบเดยี วกนั กค็ อื วา่ เมอื่ มคี วาม คิดเรื่องอะไรก็ตามปรากฏเกิดขึ้นมา ขอให้มีเจตนาที่จะสังเกตว่า ความคิดกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นส่วน เดยี วกนั หรอื คนละสว่ นกนั และมเี จตนาทจี่ ะรวู้ า่ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ มานนั้ มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ดบั อยา่ งไร การมเี จตนาทจี่ ะรถู้ งึ ธรรมชาตคิ อื การเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไปของความคดิ รถู้ งึ ความเปน็ อนจิ จงั -ทกุ ขงั -อนตั ตา ของความคิดที่กาลังปรากฏ จะทาให้จิตเราคลายจากอุปาทาน ไม่มีเรา มีแต่สติทาหน้าที่รู้ถึงความเกิดขึ้น- ตั้งอยู่-ดับไป
และการทมี่ เี จตนามคี วามพอใจทจี่ ะกา หนดรถู้ งึ การเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไปของความคดิ ไมว่ า่ จะเกดิ เยอะแค่ไหนก็ตาม เมื่อเข้าใจและเห็นชัดว่าความคิดก็เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่งและเกิดดับอยู่ตลอดเวลา แทนทคี่ วามคดิ นนั้ เกดิ ขนึ้ มาแลว้ จะทา ใหเ้ กดิ ความฟงุ้ ซา่ น หงดุ หงดิ รา คาญใจ เปลยี่ นเปน็ ทา ใหส้ ตมิ คี วาม วอ่ งไวคลอ่ งแคลว่ จติ ตงั้ มนั่ ผอ่ งใสขนึ้ มา เพราะมคี วามพอใจทจี่ ะเขา้ ไปกา หนดรถู้ งึ กฎของไตรลกั ษณถ์ งึ การ เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของความคิด แล้วก็จะเห็นว่าความคิด ไม่ว่าจะเป็นอดีตหรืออนาคต ก็เป็นตัวสังขาร ขันธ์ เป็นธรรมชาติของขันธ์ขันธ์หนึ่งที่ปรากฏเกิดขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่ของตนของตนแล้วก็ผ่านไป ดับไป มี แล้วหมดไป มีแล้วหายไป คือการตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์
แต่ที่สาคัญก็คือว่า การที่เราได้เห็นด้วยตาปัญญาของตัวเองตรงนี้เป็นการเห็นอย่างแจ่มแจ้ง ไม่ใช่ จากการฟัง หรือแค่คิดว่าเพราะเขาเป็นอย่างนั้น...เขาต้องเป็นอย่างนั้น แต่เห็นชัดถึงความเป็นไป ที่สาคัญ


































































































   28   29   30   31   32