Page 31 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 31

551
ที่สุดก็คือว่า แม้แต่ลักษณะอาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ ก็ยังมีความต่างไป นี่แหละสิ่งสาคัญที่เราต้อง ใส่ใจ ไม่ใช่เข้าใจแค่ว่าเขาเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เป็นอยู่อย่างนั้น ไม่มีตัวตน ไม่มีเรา ไม่มีเขา ไม่มีใคร... แล้วก็ผ่านไปจบไป ถ้าเราเข้าใจถึงธรรมชาติแล้วยังทุกข์ แสดงว่าเราเข้าไม่ถึง แต่ที่สาคัญก็คือว่า การที่ จะเพิ่มกาลังของสติ-สมาธิให้แก่กล้ายิ่งขึ้นจึงต้องใส่ใจ แม้แต่ลักษณะการเกิด การตั้งอยู่ การดับไป ของ แต่ละอารมณ์ แต่ละขณะ ก็ต้องรู้ถึง “ความต่าง” ว่าเขาต่างไปอย่างไร
อย่างเช่น ในขณะที่เราตามกาหนดรู้ลมหายใจใหม่ ๆ ลมหายใจเข้า-ออกยาว ๆ สม่าเสมอไป เรื่อย ๆ แต่พอสักพักลมหายใจเปลี่ยนไป จากที่ยาว ๆ สม่าเสมอก็เริ่มเบาลง บางลง สั้นลง น้อยลง...นี่ก็ คือความต่างของลมหายใจ ให้สนใจถึงความเปลี่ยนไป ทีนี้ ขณะที่ลมหายใจสั้นลง บางลง เวลาเขาหยุด เขาขาดปุ๊บเลยทีเดียว หรือค่อย ๆ บางลง จาง ๆ หายไป หรือบางลงแล้วก็สลายหายไป นี่คือความต่างไป ของอาการดับของลมหายใจ การเปลี่ยนแปลงของอาการเกิดดับเหล่านี้เป็นสิ่งสาคัญ เพราะจะเป็นการ พัฒนาปัญญาของเราให้มีความละเอียดและแยบคายมากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้น หลักของวิปัสสนากรรมฐาน ท่านจึงให้กาหนดรู้อาการเกิดดับของรูปนามว่าเปลี่ยนไปอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร
ความคิดเราก็เช่นกัน เราจะได้เห็นว่าเมื่อมีความคิดเกิดขึ้น ใหม่ ๆ เขาก็ดับช้า เกิดขึ้นมาค้างอยู่สัก พัก มีสติเข้าไปกาหนดรู้ เขาก็ค่อย ๆ จาง ค่อย ๆ เลือน ค่อย ๆ ถอยห่างออกไป แล้วก็หายไป... แต่พอ เกดิ ขนึ้ มาใหม่ มคี วามตงั้ ใจมคี วามพอใจทจี่ ะเขา้ ไปกา หนด สตมิ คี วามตนื่ ตวั มคี วามผอ่ งใสมากขนึ้ อาการ เกดิ ดบั ของความคดิ ชดั กวา่ เดมิ เดด็ ขาดกวา่ เดมิ ดบั เรว็ กวา่ เดมิ พอเราสนใจทจี่ ะรถู้ งึ ความตา่ งไปของความ คดิ มากขนึ้ สตกิ จ็ ะไวขนึ้ ตอ่ ไปกจ็ ะรทู้ นั ความคดิ ของตนเองวา่ เรมิ่ จะคดิ แลว้ นะ เรมิ่ จะคดิ แลว้ นะ... เรมิ่ จะ คิดก็รู้ทัน ตรงนี้แหละเรียกว่า “มีสติว่องไว รู้ทันอารมณ์ของตนเองมากขึ้น” (รู้ว่า)คิดด้วยความอยาก คิด ด้วยความกลัว คิดด้วยโลภะ โทสะ หรือโมหะ... (รู้ว่า)จิตประเภทไหนที่ทาให้เราคิดขึ้นมา
ส่วนใหญ่เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นมา ก็จะรู้สึกว่า เราเป็นผู้คิด ความคิดเป็นของเรา ตลอดเวลา พอ รู้สึกว่าความคิดเป็นของเรา เราเป็นผู้คิด ความคิดนั้นก็จะมารบกวนบีบคั้นจิตใจของเรา ทาให้เกิดความ ฟุ้งซ่านหงุดหงิดราคาญใจ จะนั่งสมาธิก็นั่งไม่ได้ ถูกรบกวนอยู่ตลอดเวลา ความคิดเขาทาหน้าที่ตามปกติ แต่เพราะว่าสติเราอ่อน เราเข้าใจผิดว่าพอมีความคิดขึ้นมาแล้วต้องมีเราเสมอไป แต่จริง ๆ เปล่าเลย! เขา เป็นแค่ขันธ์ขันธ์หนึ่งที่เกิดขึ้นที่พระพุทธเจ้าแยกให้เราได้ศึกษาได้พิจารณาความเป็นจริง เพราะฉะนั้น การกาหนดรู้ถึงความเป็นคนละส่วนระหว่าง “ความคิดที่เกิดขึ้น” กับ “จิตที่ทาหน้าที่รู้” จึงเป็นสิ่งสาคัญ เพื่อเป็นการคลายอุปาทานคลายความหลงผิดเข้าไปยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเราเป็นของเรานั่นเอง
เพราะฉะนนั้ การเจรญิ วปิ สั สนากรรมฐานนนั้ การพจิ ารณาความเปน็ จรงิ ขอ้ นเี้ ปน็ สงิ่ สา คญั อยา่ งยงิ่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การทเี่ ราสนใจสงั เกตพจิ ารณาแบบนจี้ ะเปน็ ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ งเปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เหน็ ความ จริงว่า รูปนามขันธ์ห้าจริง ๆ แล้วไม่ได้บอกว่าเป็นเราเลย เป็นแต่รูปกับนามที่กาลังเป็นไปตามเหตุตาม ปจั จยั อยเู่ นอื ง ๆ แคน่ นั้ เอง ถงึ มเี รา/ไมม่ เี ราเขากย็ งั ทา หนา้ ทขี่ องตนของตนอยู่ ละความรสู้ กึ วา่ เปน็ เรา/ไมม่ ี ตัวตนแล้ว ก็ยังคิดได้อยู่ ยังทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ อยู่ ไม่มีตัวตนไม่มีเรา-เวทนาก็ยังทาหน้าที่ของตน


































































































   29   30   31   32   33