Page 53 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 53

573
และไม่ใชอ่ารมณข์องอดตีทผี่า่นไปแล้วแตเ่ป็นเรอื่งของอารมณท์กี่าลังปรากฏณปจัจบุนัเพราะฉะนั้นจงึ ไม่ต้องไปปรุงแต่งอะไร มีเจตนาที่จะรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปอย่างเดียวเท่านั้นเอง
แต่ในการตามกาหนดรู้อาการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ณ ปัจจุบันขณะนี้นั้น ผู้ปฏิบัติจะต้องรู้ชัดว่า ขณะนกี้ า ลงั ตามรอู้ ะไรอยู่ ตามรอู้ าการเกดิ ดบั หรอื การเปลยี่ นแปลงของลมหายใจ ตามรอู้ าการเกดิ ดบั หรอื การเปลี่ยนแปลงของพองยุบ หรือตามรู้อาการเกิดดับหรือการเปลี่ยนแปลงของอาการเต้นของหัวใจหรือ ชีพจร ที่เป็นอาการของกายที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นอยู่ อันนี้ต้องรู้ทันที การรู้ทันทีว่าอาการเกิดดับที่กาลัง ปรากฏอยู่นี้เป็นอาการเกิดดับของอะไร เป็นสิ่งที่สาคัญมาก ๆ เพราะจะรู้ที่มารู้ที่ไป รู้ว่าอาศัยอะไรในการ เจริญสติ อาศัยอารมณ์อะไรเป็นอารมณ์วิปัสสนาในการตามรู้
เพราะฉะนนั้ ถา้ อาศยั อาการของกายทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ อยู่ เรยี กวา่ กายานปุ สั สนา พจิ ารณาอาการ ของร่างกายที่กาลังปรากฏ กายานุปัสสนาตรงนี้แหละเราไม่ได้ออกนอกเส้นทาง เรารู้ว่ากาหนดอะไรอยู่ มีความชัดเจนในตัว กายานุปัสสนาก็เป็นอาการของรูป ถ้าเป็นสังขารก็รูปสังขาร ถ้าเป็นขันธ์ก็เป็นรูปขันธ์ กายสังขารก็เป็นรูปขันธ์ เป็นขันธ์ขันธ์หนึ่งที่กาลังปรากฏ และที่บอกว่าขันธ์ไม่เที่ยง อาการของพองยุบ อาการของลมหายใจ อาการเต้นของหัวใจที่กาลังเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ก็กลายเป็นขันธ์แสดง ความไม่เที่ยง มีความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป
ในขณะที่เจริญกรรมฐานนั้น คาว่ามีเจตนาที่จะรู้อาการพระไตรลักษณ์ คือเห็นทั้งการแปรปรวน เปลี่ยนแปลง และอาการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ กับลักษณะที่บังคับบัญชาไม่ได้ ของสภาวธรรมนั้น ๆ นั่นคือส่วนสาคัญว่าเวลาเรากาหนดรู้อาการของลมหายใจเข้าออกหรืออาการพองยุบ ถึงแม้ไม่เห็นอาการเกิดดับ แต่ก็ต้องเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงอย่างไร ? ลมหายใจยาวบ้าง สั้นบ้าง เร็วบ้างช้าบ้าง ชัดบ้างจางบ้าง นั่นก็คือการเปลี่ยนแปลง จัดเป็นความเป็นอนิจจัง เป็นสภาวธรรมที่ กาลังประกาศตัวเองที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ ณ ปัจจุบันขณะนี้ เพราะฉะนั้น นี่คืออารมณ์ของวิปัสสนาที่โยคีพึง ใส่ใจสังเกตให้ดีถึงสภาวธรรมที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นว่าเป็นไปอย่างไร
การทตี่ ามรอู้ าการของกายกไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ เรารเู้ ฉพาะอาการทางกายเทา่ นนั้ อาการทางจติ หรอื อาการของความรสู้ กึ เรากย็ อ่ มปรากฏขนึ้ มาดว้ ยในขณะเดยี วกนั อาการทางจติ เปน็ อยา่ งไร ? อาการทางจติ จะมีความเปลี่ยนแปลง ขณะที่ตามกาหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ขณะที่ตามกาหนดรู้อาการพองยุบ สภาพ จิตใจเป็นอย่างไร จิตมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ? จิตมีการเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่มีความตั้งมั่นขึ้น นิ่งขึ้น สงบขึ้น ตื่นตัวมากขึ้น นั่นก็คือการเปลี่ยนแปลงที่สามารถรู้สึกได้ในขณะที่ตามกาหนดรู้อาการ อันนี้พูดถึงอารมณ์ในเบื้องต้นที่เราเริ่มพิจารณาสภาวธรรม ควรจะรู้ชัดในลักษณะอย่างนี้
ทีนี้ นอกจากอาการของลมหายใจ บางทีมีอารมณ์อื่นที่แทรกเข้ามาที่ไม่ใช่อาการของกายเรา อย่าง เชน่ เปน็ เสยี งดงั แทรกเขา้ มา นนั่ กค็ อื อารมณท์ จี่ รเขา้ มา เมอื่ มเี จตนาทจี่ ะเอาเสยี งนนั้ มาเปน็ อารมณก์ รรมฐาน เป็นอารมณ์วิปัสสนา เสียงที่ปรากฏเกิดขึ้นมาก็จะเป็นอารมณ์หลัก เมื่อมีเจตนาที่จะกาหนดเสียงเป็นหลัก จะสังเกตเห็นว่าอารมณ์หลักในแต่ละขณะที่เรากาหนด ก็คือ “เจตนา” ของเราว่าจะกาหนดอารมณ์ไหนเป็น


































































































   51   52   53   54   55