Page 54 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 54
574
หลัก ถ้าเสียงมีความชัดเจนกว่าอารมณ์อื่น และดังต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาพอสมควร เมื่อเรามีเจตนาที่ จะกาหนดอาการเกิดดับของเสียงเป็นหลัก เสียงจึงเป็นอารมณ์หลักในขณะนั้น
แต่ถ้าไม่ได้มีเจตนาที่จะกาหนดเสียงเป็นอารมณ์หลัก มีการกาหนดอาการอื่น เช่นอาการของลม หายใจเป็นหลัก แล้วมีเสียงแทรกเป็นระยะ ๆ เสียงก็เป็นแค่อารมณ์จรอย่างหนึ่งที่ผ่านเข้ามา แทรกเข้ามา เป็นระยะ แล้วก็หายไป แต่การที่เราจะเลือกอารมณ์หลักหรืออารมณ์จรในลักษณะอย่างนี้ ก็ให้สังเกตให้ ชัดเจนว่า ระหว่างเสียงกับลมหายใจ อาการเกิดดับของอารมณ์ไหนชัดเจนที่สุด อาการเกิดดับของอารมณ์ ไหนทชี่ ดั เจนทสี่ ดุ นนั้ ไมใ่ ชด่ งั ทสี่ ดุ ใหญท่ สี่ ดุ แตเ่ ปน็ “ลกั ษณะทมี่ คี วามชดั เจนทสี่ ดุ ” ในขณะนนั้ ๆ อารมณ์ ไหนที่มีความชัดเจนที่สุด ให้เลือกอารมณ์นั้นเป็นอารมณ์หลักในการกาหนดรู้อาการเปลี่ยนแปลงอาการ พระไตรลักษณ์
เ ว ล า ป ฏ บิ ตั ิ ถ า้ เ ห น็ ก า ร เ ป ล ยี ่ น แ ป ล ง อ ย า่ ง เ ด ยี ว ไ ม เ่ ห น็ ก า ร เ ก ดิ เ ล ย ไ ม เ่ ห น็ ก า ร ด บั เ ล ย เ ห น็ แ ต เ่ ป ล ยี ่ น ไป เปลยี่ นไป... ถา้ เหน็ ในลกั ษณะอยา่ งนนั้ ไมต่ อ้ งไปกงั วลวา่ ไมเ่ หน็ อาการดบั ไมท่ นั อาการเกดิ ให้ “พอใจ” พอใจที่จะตามกาหนดรู้ มีสติเข้าให้ถึงอาการนั้นต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จากที่ไม่เห็นเดี๋ยวก็จะเห็นเอง! เมื่อ อาการเหล่านั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ต่อเนื่อง...เราย่อม “มีโอกาส” ที่จะเห็นว่าเวลาเกิดเกิดอย่างไร เมื่อ อารมณ์นั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ต่อเนื่อง...เราก็จะ “มีโอกาส” ได้เห็นว่าเปลี่ยนแล้วดับอย่างไร นั่นคือ เพิ่มเจตนา ใส่ใจให้มากยิ่งขึ้นว่าอาการขณะต่อไป ขณะต่อไป ต่อไป ต่อไป... จะเปลี่ยนอย่างไร เห็นเกิด อย่างไร ดับอย่างไร
เมื่อมีเจตนาในลักษณะอย่างนี้ ใส่ใจอย่างต่อเนื่องโดยแยบคาย ยังไงก็ปรากฏ! เพราะสภาวธรรม เขาปรากฏตามกาลังของสติ สมาธิ และปัญญาของโยคีเอง ไม่ได้เป็นไปตามความอยาก แต่สิ่งหนึ่งท่ีเรา สามารถกา กบั ได้ สามารถพฒั นาได้ สามารถเตมิ ไดท้ นั ทคี อื เพมิ่ พลงั จติ ของเรา เตมิ ความสงบ ความตงั้ มนั่ ความมั่นคง เพิ่มความหนาแน่น เติมพลังความสุข... พลังตรงนั้นเราสามารถเพิ่มได้ แต่ลักษณะของอาการ พระไตรลักษณ์ขึ้นอยู่กับกาลังของสติ-สมาธิ-ปัญญาของเราที่เราจะเห็นในลักษณะอย่างไร เพราะฉะนั้น ให้มีสติกาหนดรู้อยู่กับปัจจุบัน มีการปรับอินทรีย์เป็นระยะ...
อนิ ทรยี ์คอื ความเปน็ ใหญ่สติสมาธิปญั ญาศรทั ธาความเพยี รอนั ไหนทมี่ นั ไมส่ มดลุ กนั เพมิ่ ความ สมดุลให้เกิดขึ้น ให้มีกาลังมากขึ้น แล้วก็จะกลายเป็นอินทรีย์ที่มีกาลัง เมื่ออินทรีย์ห้าสมดุลกัน สภาวะจะ ปรากฏเองโดยที่เราไม่ต้องบังคับ ถ้าสมาธิ สติ ปัญญา ศรัทธา ความเพียรของเราเกิดขึ้น อินทรีย์ห้าสมดุล กัน ถึงไม่อยากเห็นก็เห็น คล้าย ๆ ว่าเรานั่งเฉย ๆ ทาใจแบบสบาย ๆ อยู่ ๆ อาการเกิดดับก็ปรากฏขึ้นมา มอี าการเตน้ ของหวั ใจดงั ขนึ้ มาแรง ๆ หรอื หลบั ตาปลอ่ ยใจสบาย ๆ กลบั มอี าการเกดิ ดบั ตามตวั ระยบิ ระยบั ขนึ้ มา นนั่ กค็ อื เมอื่ ใดกต็ ามทอี่ นิ ทรยี ห์ า้ สมดลุ กนั สภาวะอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ กจ็ ะปรากฏขนึ้ มาเองโดยอตั โนมตั ิ
สภาวธรรมที่เกิดขึ้นที่เราจะอาศัยเดินทางไปสู่เป้าหมายเพื่อความดับทุกข์ก็คืออาการของรูปนาม ขันธ์ห้า ยิ่งมีเจตนาพิจารณาถึงกฎของไตรลักษณ์ จิตจะไม่ปรุงแต่ง ไม่ปรุงแต่งอย่างไร ? ถ้าเรามีเจตนาที่ จะรถู้ งึ อาการเกดิ ดบั ของทกุ ๆ อารมณท์ กี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ เราไมต่ อ้ งไปปรงุ แตง่ วา่ ใหเ้ ปน็ อยา่ งนนั้ ใหเ้ ปน็