Page 55 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 55

575
อย่างน้ี แต่ในขณะเดียวกันก็จะรู้ว่าอารมณ์ที่ปรากฏเกิดข้ึนมานั้นเป็นอย่างไร ดีหรือไม่ดีอย่างไร ส่วนใหญ่ ท่ีเรารู้สึกได้ทันทีก็คือ จิตรู้สึกดี รู้สึกไม่ดี หรือรู้สึกเฉย ๆ แต่อาการนั้นเป็นไปตามลักษณะของสภาวะเป็น เร่ืองปกติ เราจะเห็นว่า ชัด ไม่ชัด สลัว มัว ใส เร็ว ช้า อยู่ไกล อยู่ใกล้ อยู่ในความมืด หรือมีอะไรบดบัง อยู่... นั่นคือลักษณะของสภาวธรรมท่ีเกิดข้ึน ไม่ต้องไปปรุงแต่งให้เป็นอย่างน้ันก็เป็นอย่างน้ัน
แตเ่ มอื่ ไหรท่ เ่ี ผลอไปปรงุ แตง่ ... การเผลอไปปรงุ แตง่ กค็ อื คลอ้ ยตามอารมณ์ การคลอ้ ยตามอารมณ์ มอี ยสู่ องอยา่ ง หนง่ึ -เวลาคดิ ถงึ เรอ่ื งดี ๆ มคี วามเปน็ กศุ ลขน้ึ มา กเ็ พลดิ เพลนิ ในการปรงุ แตง่ ความเปน็ กศุ ล ตอนแรกก็รู้สึกจิตมีความสุข มีความผ่องใส มีความเบิกบาน แล้วก็คิดปรุงแต่งถึงความดีอย่างนั้นอย่างนี้ ปรุงแต่งไปเรื่อย ๆ เขาเรียกว่า “ปุญญาภิสังขาร” เป็นการปรุงแต่งฝ่ายกุศล แต่ในขณะที่ปรุงแต่งอย่างนั้น ก็ลืมกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์ ถึงแม้จะปรุงแต่งไปแล้วจิตมีความสุขมีความผ่องใสเบิกบานยิ่งขึ้น กต็ าม แตเ่ มอื่ ขาดเจตนาทจี่ ะรถู้ งึ กฎของไตรลกั ษณก์ ก็ ลายเปน็ วา่ อยนู่ อกวปิ สั สนาญาณ คอื ไมเ่ หน็ ลกั ษณะ การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เห็นแต่จิตที่ผ่องใส เบิกบาน มีความสุขเท่านั้นเอง นั่นอย่างหนึ่ง
และอกี อยา่ งหนงึ่ ทเี่ ราปรงุ แตง่ กค็ อื ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เปน็ ความคดิ ทเี่ รยี กวา่ เปน็ อกศุ ล หรอื ทเี่ รยี ก ว่า “อปุญญาภิสังขาร” สังขารที่ไม่ดีที่ไม่เป็นบุญ แล้วก็คล้อยตามเคลิบเคลิ้มเพลิดเพลินอยู่กับอารมณ์อัน นนั้ ยงิ่ ปรงุ แตง่ จติ ยงิ่ ขนุ่ มวั ยงิ่ เศรา้ หมองขนึ้ มา นนั่ คอื การคลอ้ ยตามอารมณ์ แตถ่ า้ เมอื่ มสี ตกิ า หนดรแู้ ละมี เจตนาทจี่ ะรถู้ งึ การเกดิ ดบั ของอารมณเ์ หลา่ นนั้ เรากจ็ ะเหน็ ไดว้ า่ อารมณเ์ หลา่ นนั้ เกดิ ดบั อยา่ งไร เพราะฉะนนั้ เมื่อมีอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏขึ้นมา ให้เรามีเจตนาที่จะรู้ถึงอาการพระไตรลักษณ์ รู้ถึงอาการเกิด ดับของอารมณ์ที่เกิดขึ้น
และความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ กศุ ลหรอื เปน็ อกศุ ล จะมอี ยสู่ องสว่ นเชน่ เดยี วกนั กค็ อื เรอื่ งของ อดตี และเรอื่ งของอนาคต เปน็ สญั ญาเกา่ ทเี่ กดิ ขนึ้ มาหรอื วา่ ปรงุ แตง่ ไปขา้ งหนา้ แลว้ มารบกวนจติ ใจของเรา แตถ่ า้ มเี จตนาทจี่ ะกา หนดรถู้ งึ อาการเกดิ ดบั ของความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จะเหน็ ชดั ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นระหวา่ ง เรื่องที่กาลังคิดกับสภาพจิตที่กาลังเป็นอยู่ และเห็นว่าเรื่องที่กาลังคิดกับสภาพจิตที่เป็นอยู่นั้นเป็นอย่างไร อย่างเช่น ขณะที่เรานั่งอยู่ตอนนี้ เรารู้สึกว่านั่งอยู่ในที่ว่าง ๆ นั่งอยู่ในความสงบ หรือนั่งอยู่ในบรรยากาศ ของความรู้สึกที่เบา ใส มีความนุ่มนวล อ่อนโยน อบอุ่น... อย่างใดอย่างหนึ่ง
ทบี่ อกวา่ “อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ” นนั้ เพราะในบางขณะเราจะชดั เฉพาะบรรยากาศอยา่ งเดยี วหรอื ความ รู้สึกอย่างเดียว อย่างเช่น รู้สึกนั่งอยู่ในความสงบ รู้สึกนั่งอยู่ในที่ว่าง ๆ รู้สึกนั่งอยู่ท่ามกลางความสุข หรือ รู้สึกนั่งอยู่ท่ามกลางความสว่าง อันนี้อย่างหนึ่ง เราจะเห็นว่าบรรยากาศของความรู้สึกที่สุข สงบ หรือสว่าง หรือเบาอันนั้นกว้างกว่าตัวกว้างกว่ารูป นั่นคือลักษณะของสภาพจิต ก็จะเห็นว่าตัวนั่งอยู่ในบรรยากาศนั้น ด้วยเช่นกัน ตรงนี้จะเห็นว่าความรู้สึกที่สงบกับตัวเป็นคนละส่วนกัน เพราะฉะนั้น ถ้ามีบรรยากาศแบบนี้ รองรับ เมื่อมีความคิดเกิดขึ้น เราจะเห็นว่าความคิดที่ปรากฏขึ้นมาเกิดอยู่ในบรรยากาศที่ว่าง ๆ เกิดอยู่ใน บรรยากาศของความสงบ เกิดอยู่ในบรรยากาศของความใสนั้นด้วยหรือไม่


































































































   53   54   55   56   57