Page 56 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 56
576
นี่คือการพิจารณาถึงความเป็นคนละส่วนระหว่าง “ความคิดที่กาลังเกิดขึ้น” กับ “สภาพจิตที่เป็น อยู่” จะเห็นว่าสภาพจิตที่เป็นอยู่นั้นเป็นสภาพจิตที่ดี มีความเป็นกุศล คือมีความสงบ มีความเบา มีความ ว่าง หรือมีความสว่างใส ส่วนเรื่องราวที่กาลังคิดนั้นอาจจะเป็นเรื่องแบบไหนก็ได้ เป็นสัญญาเก่าที่เคยเกิด ขึ้นในชีวิตของเราหรือเป็นอารมณ์ที่เคยทา ให้เกิดความขุ่นมัว แต่เมื่อเห็นว่าสภาพจิตมีความเบา มีความ สงบ มีความผ่องใสอยู่ และความคิดนั้น/สัญญานั้นปรากฏในบรรยากาศของความใส ความสงบ จะเห็น ว่าส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจอย่างไร... อารมณ์เหล่านั้นทาให้จิตขุ่นมัวเศร้าหมอง หรือว่าจิตก็ยังสงบ ยังผ่องใสอยู่ ? นี่คือการเห็นความเป็นคนละส่วนระหว่างจิตกับความคิดที่เกิดขึ้น
พิจารณาทีละขั้นตอนทีละสเต็ปว่า เมื่อเราเห็นว่าจิตที่เบาท่ีสงบกว้างกว่าตัว แล้วเรารู้สึกว่านั่งอยู่ ท่ามกลางความเบาความสงบ ตัวหรือรูปอันนั้นรู้สึกหนักหรือเบา บอกว่าเป็นเราไหม หรือเป็นสิ่งหนึ่งที่ตั้ง อยู่เฉย ๆ ? อันนี้คือการพิจารณาทบทวนถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างกายกับจิต ที่เรียกว่าแยกรูปแยก นาม แยกกายกบั จติ นนั่ เอง การทเี่ ราพจิ ารณาถงึ ความเปน็ คนละสว่ นของรปู -นามในลกั ษณะอยา่ งนบี้ อ่ ย ๆ ทาให้เรามีความมั่นใจในสภาวธรรมที่เกิดขึ้นที่กาลังเป็นอยู่นี้ชัดเจนแจ่มแจ้งมากขึ้น มีความมั่นใจมากขึ้น ว่ารูปนามเป็นคนละส่วนกันจริง ๆ คาว่า “จริง ๆ” ตรงนี้หมายถึงเป็นคนละส่วนกันอย่างสิ้นเชิง หรือที่ว่า เป็นสมุจเฉท ไม่เป็นอันเดียวกันถึงแม้ว่าจะอยู่ที่เดียวกัน
บางครงั้ จติ จะกลบั มาทกี่ ายบา้ ง แตก่ ไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ สว่ นเดยี วกนั กบั กาย เปน็ ทอี่ าศยั เปน็ ปจั จยั ซงึ่ กนั และ กันเท่านั้นเอง ถึงแม้บางครั้งจิตจะมาที่กาย แต่ก็ไม่ได้เป็นอย่างเดียวกับกาย เพียงแต่อยู่ที่เดียวกัน นั่นคือ การพิจารณาถึงความเป็นธรรมชาติ ตรงนี้เรียกว่า “แยกรูปแยกนาม” เพราะฉะนั้น เมื่อแยกได้แบบนี้แล้ว จึงให้สังเกตว่า เวลาจิตเราว่าง จิตเบา จิตสงบ แล้วกว้างขึ้นไป พอมีความคิดเกิดขึ้นมา จึงให้พิจารณาดู ว่า ความคิดที่เกิดขึ้นเขาเกิดในความว่างความเบาความสงบนั้นด้วยหรือไม่... เพื่ออะไร ? จริง ๆ แล้วเรา ปฏิบัติธรรมเพื่ออะไร ? ปฏิบัติธรรมเพื่อไม่ทุกข์กับอารมณ์ที่เข้ามากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ที่ ทานี่ก็เพื่อสิ่งนั้นนั่นแหละ
การพิจารณาถึงความเป็นคนละส่วน ไม่ใช่เรา ที่บอกว่าความคิดก็เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่ง เสียงที่ เกิดขึ้นก็เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่ง และนอกจากเป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้นมา เมื่อเราศึกษาธรรมะ นี่คือเหตุ และผลในตวั เอง การพจิ ารณาแบบนสี้ ง่ ผลทา ใหส้ ภาพจติ เปน็ อยา่ งไร และการพจิ ารณาถงึ กฎของไตรลกั ษณ์ ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของทุก ๆ สภาวะ ทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น อย่างความคิดที่พูดถึงเมื่อกี้ แม้เรา จะมีความคิดเยอะแยะมากมายแค่ไหนก็ตาม จะกี่พันเรื่องก็ตาม เราจะเห็นว่านั่นเป็นวิถีการทางานของจิต ของสัญญา ของผัสสะที่เกิดขึ้นมา ย่อมต้องมีการพิจารณาความเป็นไป และวิเคราะห์โดยอัตโนมัติ
ทาไมถึงเป็นการพิจารณาและวิเคราะห์โดยอัตโนมัติ ? เพราะการศึกษาวิเคราะห์เรื่องเหตุและผล สิ่งที่ปรากฏเกิดขึ้นเป็นประโยชน์หรือไม่เป็นประโยชน์อย่างไร มีคุณหรือโทษอย่างไร พระพุทธเจ้าสอนให้ เราพิจารณาอารมณ์ที่เข้ามากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เน้นไปที่พิจารณาว่าเพื่อประโยชน์อะไร มี ค ณุ ห ร อื โ ท ษ อ ย า่ ง ไ ร เ ป น็ ค ณุ เ ป น็ โ ท ษ ต ร ง ไ ห น ท งั ้ ใ น ป จั จ บุ นั แ ล ะ อ น า ค ต ป จั จ บุ นั ก ร ะ ท บ แ ล ว้ ท า ใ ห เ้ ป น็ ท กุ ข ์