Page 67 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 67
587
เข้าไปกาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้ จนการเปลี่ยนแปลงนั้นหยุดลง หมายถึงว่า ความตั้งมั่นขึ้น เปลยี่ นไป ความสวา่ งเปลยี่ นไป เปลยี่ นไปอยา่ งไร ไมม่ กี าร...เปลยี่ นเปน็ สวา่ งไปหมด หรอื โลง่ เปลยี่ นเปน็ ... จากสว่างเปลี่ยนเป็นความใส ความตั้งมั่นเปลี่ยน...เป็นกว้างไปหมด กลายเป็นใส เหลือแต่ใสอย่างเดียว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง นั่นคือรู้จนสิ้นสุดอาการเปลี่ยนแปลง ถ้าสิ้นสุดแล้วทาอย่างไร ถ้าสิ้นสุดอาการ... เข้าไปแล้วอาการเปลี่ยนแปลงนี้หยุดลง ถ้าหยุดลง หยุดเปลี่ยน อาการเปลี่ยนแปลงนี้ หยุดลง ก็สังเกตว่า สภาพจิตที่เป็นอยู่นี้ เป็นอย่างไร
หลังจากการตามรู้การเปลี่ยนแปลง...จนหยุด จนสิ้นสุด หยุดลง สภาพจิตใจเปลี่ยนเป็นอย่างไร จริง ๆ แล้ว ก็คือต่อเมื่อกี้นี้ ที่บอกว่ามันใสขึ้น ใสเป็น...ใสเป็นความใสที่สงบ หรือใสที่หนาแน่น ใสที่โปร่ง เป็นความโปร่ง ความโล่ง ความใส จิตที่เปลี่ยนไป จิตต่างจากเดิมไหม ถ้าเปลี่ยนเป็นโล่ง โปร่ง เบา ใสไป หมดเลย รู้สึกสบายมาก ๆ ไม่มีอาการอะไร ความสบายนั่นแหละคือสภาวธรรม ความที่รู้สึกสบายมาก ๆ นี่แหละ คือสภาวธรรม สภาพจิตที่สบายมาก ๆ นี่แหละ ที่สามารถเข้าไปรู้ความสบายนั้น สบาย...ยิ่งเข้า ไปรู้ในความสบายอีก กาหนดรู้ดูจิตที่สบายอีก เขาเปลี่ยนอย่างไรต่อนะ
สา รวจดจู ติ ทสี่ บาย มขี อบเขต มพี ลงั มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ อกี ไหม จติ ทใี่ ส จติ ทโี่ ปรง่ เปลยี่ นไปอยา่ งไร ต่อ ถึงไม่มีการเปลี่ยน แต่ก็ยังต้องสารวจดู ถ้าสารวจดี ๆ การพิจารณาดี ๆ ก็จะเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง เพราะธรรมชาติของจิตก็มีการเปลี่ยนแปลง ธรรมชาติของจิต ก็ตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ เพราะฉะนั้น กาหนดรู้แบบเดียวกันในลักษณะอย่างนี้ ดูต่อเนื่องไป จนกว่าจะสิ้นสุด หรือจนกว่าจะมีอาการใหม่ปรากฏ ขึ้นมา
มอี ารมณใ์ หมป่ รากฏขนึ้ มา อาจจะมเี วทนาเกดิ ขนึ้ พอมเี วทนาเกดิ ขนึ้ เมอื่ จติ วา่ งอยแู่ ลว้ จติ ใสแบบนี้ เวทนาที่ปรากฏขึ้นมา ถ้ามีเวทนาปรากฏเกิดขึ้น ก็ให้สังเกตต่อไปเลยว่า เวทนาที่เกิดขึ้นมานั้น เกิดอยู่ใน ความใสหรือเปล่า เกิดอยู่ในที่โล่ง ๆ เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ หรือเกิดอยู่ที่หัวเข่า เกิดอยู่ที่หลัง เกิดอยู่ที่ไหล่ เกิดอยู่ที่ศีรษะ
ที่พูดที่ถามอย่างนี้ ไม่ได้หมายความว่า เราจาไม่ได้ว่าอยู่ตาแหน่งไหน แต่ถ้าเราสังเกตแบบนี้ เมื่อ รปู วา่ งไป จติ วา่ งหมดแลว้ ทถี่ ามวา่ สงั เกตเกดิ อยทู่ ไี่ หนนนี่ ะ...เกดิ บรเิ วณรปู แตไ่ มม่ รี ปู รา่ งของรปู เชน่ เกดิ อยู่บริเวณหัวเข่า ไม่เห็นรูปร่างของหัวเข่า เกิดอยู่บริเวณหลัง แต่ไม่มีรูปร่างของหลัง ไม่มีสัณฐานของหลัง นั่นคือเห็นว่าอาการของเวทนานั้น ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็เรียกว่า เวทนาเกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ บริเวณหัวเข่า เกิดอยู่ ในที่ว่าง ๆ บริเวณหลัง เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ บริเวณศีรษะ แล้วก็ลองพิจารณาดู เวทนาที่ปรากฏอยู่ในที่ว่าง ๆ มกี ารเปลยี่ นแปลง หรอื เกดิ ดบั อยา่ งไร เวทนานนั้ มแี สดงอาการพระไตรลกั ษณ์ มกี ารเกดิ ดบั อยา่ งไร กลาย เป็นว่า เราดูเวทนาในเวทนา หรือเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ตามกาหนดรู้อาการของเวทนา ที่กาลังปรากฏอยู่ว่า มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร ไปรู้อะไร รู้เวทนาก็เป็นอนิจจัง เวทนาไม่เที่ยง เวทนาเป็นทุกข์ เวทนาเป็นอนัตตา นอกจากเวทนาที่เป็นทุกข์ คือ ทุกขเวทนาอย่างหนึ่ง ทุกขลักษณะอย่างหนึ่ง ทุกขเวทนาคือ รู้สึกว่ามีความปวดเป็นความทนยาก แต่