Page 214 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 214

210
ทางกายที่เกิดขึ้น” กับ “กาย” เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? ความปวดทเี่ ปน็ กลมุ่ กอ้ นทเี่ ปน็ แทง่ หรอื ความปวดทเี่ ปน็ จดุ เปน็ ดวงทเี่ กดิ ขึ้นมา กับกายที่นั่งอยู่ เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? อาศัยกัน แต่ถามว่าเขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน การพิจารณาแบบนี้ พิจารณาประมาณไหนถึงจะเห็นถึงความเป็นคนละส่วนได้ชัดเจน ?
เราจะเห็นชัดต่อเมื่อมีสติกาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง และเห็นว่ารูปนี้ หายไป เหลือแต่เวทนาอย่างเดียวที่ตั้งอยู่ในที่ว่าง ๆ ถ้าเห็นในลักษณะ อย่างนี้ก็จะบอกได้ว่าเวทนากับกายเป็นคนละส่วนกัน ถึงแม้จะอาศัยกัน ก็ตาม อันนี้อย่างหนึ่ง อีกอย่างหนึ่งก็คือ การกาหนดรู้เวทนานั้นจนเวทนา นั้นดับไป หมดไป ว่างไป โล่งไป หายไป เกลี้ยงไป เหลือแต่รูปที่ตั้งอยู่ เพราะฉะนั้น เราจะเห็นว่าเวทนากับรูปอาศัยกัน แต่ไม่ใช่เป็นอันเดียวกัน เพราะไมไ่ดเ้กดิขนึ้อยดู่ว้ยกนัตลอดเวลาแตเ่กดิขนึ้เปน็ขณะนแี่หละเปน็ สภาวธรรมทปี่ รากฏขนึ้ มาประกาศตนเองวา่ ทา ไมพระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงตรสั ว่า เวทนาก็ส่วนหนึ่ง รูปก็ส่วนหนึ่ง
ทีนี้ เวทนาทางกายที่เกิดขึ้น ความปวด ความเมื่อย ความชา หรือ อ า ก า ร ค นั ต า่ ง ๆ ก บั ต วั ว ญิ ญ า ณ ร /้ ู ต วั จ ติ ท ที ่ า ห น า้ ท รี ่ ้ ู เ ป น็ ส ว่ น เ ด ยี ว ก นั ห ร อื คนละส่วนกัน ? มาพิจารณาตามลาดับในลักษณะที่ว่า กายที่นั่งอยู่กับจิต ที่ทาหน้าที่รู้เป็นคนละส่วนกัน ในขณะที่เวทนาอาศัยตามร่างกายเกิดขึ้น พิจารณาเวทนากับกายเป็นคนละส่วนกัน เห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วน แล้วเวทนากับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? อันนี้อย่างหนึ่ง เป็นการพิจารณาถึงสัจธรรมความจริงที่เกิดขึ้นว่า จิตที่ ทาหน้าที่รู้เป็นตัววิญญาณขันธ์ เวทนาที่เกิดขึ้นก็เป็นเวทนาขันธ์ เวทนาที่ กาลังปรากฏเกิดขึ้นประกาศตัวเองว่าเขาเป็นขันธ์ขันธ์หนึ่ง ไม่ได้เป็นส่วน


































































































   212   213   214   215   216