Page 100 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 100

960
รู้สึกว่า เราเอาอารมณ์หายใจเป็นหลัก เอาอารมณ์หลักมาเป็นอารมณ์ปัจจุบัน เริ่มต้น...เรากาหนดรู้ ลมหายใจเปน็ หลกั เปน็ อารมณห์ ลกั ของจติ ของสตนิ นั้ ...ถกู แลว้ ถา้ ตราบใดทเี่ ขายงั ชดั อยู่ กจ็ ะเปน็ อารมณ์ ปัจจุบันที่มีความชัดเจน แต่เมื่ออารมณ์หลัก หรืออารมณ์นั้นเปลี่ยนไป หายไปแล้ว ก็ไม่ใช่อารมณ์ปัจจุบัน แล้ว อารมณ์ใหม่เกิดขึ้นมา จึงเรียกว่าอารมณ์ปัจจุบันที่กาลังปรากฏชัดอยู่ อันนี้เป็นสิ่งสาคัญ
เพราะฉะนั้น เมื่อกาหนดรู้อารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งชัดเจนอยู่ หรือหายไปแล้ว ขอให้สังเกตอารมณ์ ถัดไป ต่อไปว่า ขณะนั้นอารมณ์อะไรปรากฏเกิดขึ้นมา นั่นคืออารมณ์ปัจจุบัน และกาหนดรู้แบบเดียวกัน คอื มสี ติ หรอื เอาความรสู้ กึ เขา้ ไป สง่ ความรสู้ กึ เขา้ ไป กา หนดรถู้ งึ การเกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู่ ดบั ไปของอารมณน์ น้ั ๆ จนกว่าจะหมดบัลลังก์ หรือจนกว่าจะหมดเวลาที่เราได้กาหนดเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็น ๑ ชั่วโมง หรือว่า ๓๐ นาที ๔๕ นาที ในการกาหนด ในบัลลังก์หนึ่ง ๆ ก็ให้รู้ชัด และตามรู้ให้ต่อเนื่องในลักษณะนี้ นี่คือเป็นหลัก การในการเจริญกรรมฐาน เจริญวิปัสสนากรรมฐาน
ที่อาจารย์พูดมา ก็เป็นส่วนหนึ่งพอสังเขป ให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติของเรา เพราะฉะนั้น เวลา เจริญกรรมฐาน หลายคน...ส่วนใหญ่ เราก็ยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้ แยกรูปนามได้ ละความเป็นตัวเราได้ ไ ม ม่ ตี วั ต น แ ล ว้ จ ะ ท า ใ ห ก้ า ร ก า ห น ด อ า ก า ร พ ร ะ ไ ต ร ล กั ษ ณ ์ ก า ร เ พ กิ บ ญั ญ ตั ไิ ด ง้ า่ ย แ ล ะ จ ะ เ ข า้ ส ป่ ู ร ม ตั ถ ไ์ ด เ้ ร ว็ เพราะฉะนั้นทุกครั้ง ก็ควรที่จะทาจิตให้ว่าง หรือยกจิตขึ้นสู่ความว่าง แล้วพิจารณาสภาวธรรมนั้นไป เพื่อ เป็นการเพิกบัญญัติ คลายอุปาทาน ละความเป็นกลุ่มก้อนของอารมณ์ แล้วไปรู้ถึงอาการพระไตรลักษณ์ เพื่อพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญา เพื่อการเดินทางของเรา เพ่ือความก้าวหน้าในธรรม เร็วขึ้นไป ยิ่ง ๆ ขึ้นไป
เพราะฉะนั้นก็ขอฝากเอาไว้ อันนี้พูดมาพอเป็นสังเขป พอเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพราะฉะนั้น ในโอกาสอันดีนี้ ขอให้เราตั้งใจ ตั้งใจที่จะทาหน้าที่ ทาหน้าที่คือ ทาหน้าที่ของผู้ปฏิบัติที่ดี เพื่อการพัฒนา สติปัญญาของเรา ให้ได้ดีที่สุด ใช้เวลาที่มีอยู่ให้มีค่าที่สุด นั่นเป็นเพราะ...ธรรมะ อย่างที่บอกแล้วว่าสติ สมาธิ ปญั ญา เปน็ สงิ่ ทลี่ า้ คา่ สา หรบั ชวี ติ เปน็ สงิ่ ทลี่ า้ คา่ สา หรบั ชวี ติ และเปน็ สงิ่ ทจี่ ะพาใหจ้ ติ ของเรา พน้ จาก ความทุกข์ทั้งปวงได้ เพราะฉะนั้นขอให้เราตั้งใจกัน ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถไหน...อย่างไร ขอให้ใส่ใจ ที่จะดู อาการอารมณ์ปัจจุบันให้มาก ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์...ทั้งกุศลอกุศลที่เกิดขึ้นมา ก็พิจารณาถึงอาการเกิดดับ ของอารมณ์นั้นให้เร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเป็นอกุศล
อกุศลนั้นมี ๒ อย่าง หนึ่ง อารมณ์ภายนอกที่เป็นอกุศล อย่างหนึ่ง กับจิตที่ทาหน้าที่รับรู้เป็นอกุศล อย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้น สิ่งที่เราควรละก่อน ก็คือจิตที่เป็นอกุศล และจิต...เป็นอารมณ์ที่มีอายุสั้น รับรู้แค่ เสี้ยววินาทีก็ดับไป เพราะฉะนั้น การละอกุศลจิต ดับอกุศลที่จิต ก่อนอกุศลภายนอกอารมณ์ ที่เป็นอกุศล ภายนอก กท็ า หนา้ ทขี่ องตนไป แลว้ เขากด็ บั ถา้ เราไมเ่ ขา้ ไปยดึ เอามาเปน็ ตวั เราของเรา แลว้ ละอกศุ ลภายใน จิตใจได้แล้ว จิตมีความสงบ มีความตั้งมั่นขึ้นมา อกุศลนั้นก็กลายเป็น...สักแต่ว่า...เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
รักษาจิตที่เป็นกุศลที่ดีแล้วนั้น ให้...ทาให้มีกาลังมากยิ่งขึ้นไป ให้แก่กล้ามากขึ้นต่อไป พัฒนาจิต ของตนเองที่ดีขึ้นแล้ว ให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น แล้วก็พยายามละอกุศลที่


































































































   98   99   100   101   102