Page 103 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 103

963
แต่ละขณะ หรือทุกขณะในแต่ละครั้ง หรือทุกครั้งที่เข้าไปรู้ เข้าไปกาหนดรู้อาการนั้น อาการเหล่านั้นมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร ๆ
อย่างเช่น การที่เรารู้ว่านั่ง อย่างเช่นเรารู้ว่านั่งอยู่ ขณะแรกไปรู้ถึงอาการนั่ง ดูรูปนั่งนี่นะ ไปดูที่รูปที่ นั่งอยู่ มาดูที่รูปที่นั่งอยู่ รู้สึกอย่างไร มีเจตนาที่จะรู้ชัด ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา สังเกตเรา...ดูนะ เรารู้ว่านั่ง ไม่ได้ หมายความว่าเราจะรู้ว่านั่งอยู่ตลอดเวลา แต่ทุกครั้งที่เข้ามารู้ว่านั่งอยู่ รู้สึกว่าตัวเองนั่งอยู่ปึ๊บนี่นะ บริเวณ รูปเป็นอย่างไร บริเวณรูป อาการนั่ง รูปที่นั่งอยู่รู้สึกอย่างไร รู้สึกมีความตั้งมั่น ตัวตรง เขาเรียกกายตรง ตั้งมั่น มีความหนักแน่นมั่นคง ความรู้สึกที่รูปหนักแน่น มั่นคง ตั้งมั่น ตัวตรง อันนี้อย่างหนึ่งนะ
แตถ่ า้ สงั เกตใหล้ ะเอยี ดแลว้ แลว้ ตวั ทนี่ งั่ ตรง ทตี่ งั้ มนั่ ทตี่ งั้ ตรงอยนู่ นี่ ะ มคี วามหนา ความบาง ความ โปร่ง ความเบา ความใส อันนี้คือเจตนาที่จะรู้ว่า เมื่อเจตนาที่จะรู้แบบนี้ ทุกครั้งที่มีเจตนาที่จะรู้ สมมติว่า ไปดูว่าจิตที่รูป รู้สึกเป็นอย่างไร มีความหนักแน่น มั่นคง ตั้งมั่น มีรูปร่างของตัว หรือว่าแค่โปร่ง ๆ ใส ๆ แต่มีความตั้งมั่นอยู่
หรือตัวนี้ มีอาการเป็นเหมือนกรอบแก้ว เป็นแค่เส้น ตัวที่นั่งอยู่เป็นรูปที่ตั้งมั่นใส ๆ หรือเป็นแค่ กรอบใส ๆ ข้างในว่าง ๆ หรือข้างในรูปเต็มไปด้วยความหนาแน่น เป็นความใสที่หนาแน่น เต็มไปด้วยพลัง คาว่าพลัง ตรงนี้ก็เหมือนกัน ความใส รูปที่ใส ๆ หนาแน่นไปด้วยพลัง ให้ความรู้สึกเป็นอย่างไร คือความ รู้สึกที่หนักแน่นมั่นคงขึ้น มีความรู้สึกที่รูปนี้หนาแน่นไปด้วยพลัง ให้ความรู้สึกหนักแน่นมั่นคงตั้งมั่น อันนี้คือให้ความรู้สึกหนักแน่นมั่นคง พลังของความหนักแน่นมั่นคง อันนี้อย่างหนึ่ง คือการสังเกต
สังเกตในแต่ละครั้ง พอเห็นว่าที่รูปมีความใสมีความตั้งมั่น พอเข้าไปรู้ในความใส ความรู้สึกที่ใส และตั้งมั่นอีก ในขณะที่เข้าไปรู้ความรู้สึก...ดูให้ชัด รูปที่มีความใส มีความตั้งมั่นนะ มีความใส มีความตั้ง มั่น พอรู้เข้าไป รูปมีความใส แต่ความรู้สึกตั้งมั่นอยู่ที่เดียวกัน ให้เข้าไปดูในความรู้สึกที่ตั้งมั่น จริง ๆ แล้ว สังเกตดู...เข้าไปในความรู้สึกที่ตั้งมั่นและใสนั่นแหละ จิตเรายิ่งใสยิ่งตั้งมั่นขึ้นไหม
แต่ถ้าเป็นอย่างนี้ ถ้าเข้าไปรู้แล้วมีการเปลี่ยน มีการเปลี่ยนเป็นความใส และมีพลังขึ้นตั้งม่ันขึ้น ทกุ ครงั้ ทเี่ ราเขา้ ไปรแู้ ตล่ ะขณะ แตล่ ะขณะ แตล่ ะขณะนนั่ คอื การเจาะสภาวะ ทตี่ ามรจู้ ติ ดจู ติ ทมี่ กี ารเปลยี่ น ไป อันนี้อย่างหนึ่ง ให้รู้ว่า ขณะนี้กาลังกาหนดรู้ ความรู้สึกที่ผ่องใสที่ตั้งมั่น แล้วเขาเปลี่ยนไปแบบนี้ ๆ ทีนี้ อีกอย่างหนึ่งก็คือ พอจิตมีความผ่องใส มีความตั้งมั่นขึ้น อาการอื่นที่ปรากฏ อาการอื่น...อาการอะไร
ถา้ มอี าการอนื่ เกดิ ขนึ้ ขนึ้ มา อาการอนื่ ทปี่ รากฏเกดิ ขนึ้ มามอี ะไร มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ ความคดิ ทปี่ รากฏ ขึ้นมานี่นะ ลักษณะอาการเกิด การเกิดการดับของความคิด ต่างจากเดิมอย่างไร ต่างจากที่ผ่านมาอย่างไร จุดหนึ่งที่พึงสังเกตความต่าง ๑. ลักษณะของการเกิดของความคิด ๒. ลักษณะของการดับของความคิด ๓. ลักษณะของความคิด...ว่ามีน้าหนัก มีความบาง มีความเบา ความคิดนั้น มีความบาง ๆ เบา ๆ ใส ๆ
ความคดิ ตรงนี้ หมายถงึ วา่ ลกั ษณะของความคดิ เราบอกไดอ้ ยา่ งไรวา่ บางเบา เวลาคดิ เวลามคี วามคดิ เกิดขึ้นมานี่นะ มีมโนภาพเกิดขึ้น ลองสังเกตดูว่า เมื่อไหร่ก็ตามมโนภาพหรือภาพที่รับรู้ ความคิดเกิดขึ้น


































































































   101   102   103   104   105