Page 18 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 18

878
การรบั รแู้ บบนเี้ ปน็ การเจาะสภาวะตรงทรี่ ใู้ หท้ นั รปู นามใหมท่ เี่ กดิ -ดบั เกดิ -ดบั เกดิ -ดบั ตอ่ เนอ่ื งไป แต่ในขณะเรารู้อาการเกิดดับของรูปนามใหม่ในลักษณะอย่างน้ี จุดหน่ึงท่ีเราพึงพิจารณาและใส่ใจเพ่ือที่จะ ทาให้เราเกิดปัญญาเห็นชัดในกฎของไตรลักษณ์มากข้ึน ก็คือเข้าไปรู้ว่าลักษณะอาการเกิดดับของรูปนาม ใหม่ท่ีเกิดข้ึนมาต่างจากเดิมอย่างไร เปลี่ยนไปอย่างไร ตรงนี้เป็นลักษณะของปัญญาหรือสภาวญาณ สิ่งที่ เราพึงสังเกตก็คือ ลักษณะความเปลี่ยนไปของอาการเกิดดับ อาการเกิดดับมีความชัดเจนมากขึ้นกว่าเดิม อาการเกิดดับมีความเบาบางกว่าเดิม อาการเกิดดับอยู่ใกล้มากกว่าเดิม อาการเกิดดับถอยห่างออกไปไกล ออกไป นี่ก็คือความต่างในลักษณะอย่างหนึ่ง
และอกี อยา่ งหนงึ่ อาการเกดิ ดบั นนั้ เกดิ ดบั แบบรวั เรว็ อาการเกดิ ดบั เกดิ ดบั แบบชา้ ๆ คอ่ ย ๆ เลอื น ค่อย ๆ เลือนไป อาการเกิดดับเกิดอยู่ตาแหน่งเดิมตลอดเวลา ปวดตรงไหนดับตรงนั้น เกิดดับแบบเด็ด ขาด อาการเกิดดับเร็วขึ้น ๆ เล็กลง ๆ บางลง นี่ก็คือความต่างของลักษณะอาการเกิดดับ ทีนี้ อาการเกิดดับ ที่ปรากฏขึ้นมาเปลี่ยนตาแหน่ง เดี๋ยวแว็บตรงนั้นแว็บตรงนี้ เกิดตรงนั้นดับตรงนี้ สลับสับเปลี่ยนตาแหน่ง ไปเรื่อย ๆ เดี๋ยวผุดเดี๋ยวดับไป นี่ก็คือความต่างของอาการเกิดดับ ตรงน้ีแหละเป็นตัวบอกถึงลักษณะของ ปัญญา ระดับกาลังของสติและสมาธิว่าแก่กล้าขนาดไหนถึงเห็นอาการเกิดดับในลักษณะอย่างนั้น
เพราะฉะนั้น การที่จะเห็นอาการเกิดดับที่แตกต่างที่เปลี่ยนไป ขึ้นอยู่กับเจตนาของเรา การเจาะ สภาวะจึงให้สนใจอาการเกิดดับในลักษณะที่กล่าวมาว่าอาการเกิดดับเปลี่ยนไปต่างไปอย่างไร สมมติว่า เคยเห็นอาการเกิดดับเกิดดับแบบช้า ๆ เดี๋ยวมาจากด้านซ้าย เด๋ียวมาจากด้านขวา เดี๋ยวก็มาจากข้างหน้า เดี๋ยวก็ออกจากตัวไป นั่นก็คือลักษณะอาการเกิดดับที่เปลี่ยนไป พอมีกาลัง กาหนดต่อไปเรื่อย ๆ อาการ เกดิ ดบั กลบั มาปรากฏอยทู่ เี่ ดยี ว ไมม่ าจากดา้ นซา้ ยดา้ นขวาแลว้ ปรากฏอยขู่ า้ งหนา้ อยา่ งเดยี ว นนั่ เปน็ อาการ เกิดดับที่พุ่งเข้ามาหาตัว วับ ๆ ๆ สว่างเข้ามา ใกล้ตัวเข้ามา หรือมาชนหน้า นี่ก็คือความต่างไปเปลี่ยนไป ของอาการเกิดดับอย่างหนึ่ง
พออาการเกดิ ดบั นมี้ าชนหนา้ ไดส้ กั พกั มอี าการวบุ ๆ ๆ ออกไป ไกล ๆ ๆ ๆ ออกไป นนั่ คอื ลกั ษณะ อาการเกิดดับที่เปลี่ยนไปอย่างหนึ่ง อันนี้เป็นสภาวะที่จัดเป็นปัญญาอย่างหนึ่งว่า ลักษณะอาการเกิดดับที่ เปลี่ยนไป ไม่คงที่ ไม่เหมือนเดิม ตรงนี้เรียกว่าความเป็นอนิจจัง ไม่มีความเหมือนเดิม มีความเปลี่ยนอยู่ เรื่อย ๆ เดี๋ยวเร็วบ้างช้าบ้าง แต่ถ้าเราลาดับได้ว่าเมื่อกาหนดใหม่ ๆ อาการเกิดดับเป็นอย่างนี้ ยิ่งรู้ไปใน บลั ลงั กห์ นงึ่ ตงั้ แตต่ น้ บลั ลงั กจ์ นจบบลั ลงั ก์ ลกั ษณะอาการเกดิ ดบั เปลยี่ นไปอยา่ งไร นนั่ คอื ตวั สา คญั เรยี ก ว่าลักษณะของสภาวญาณ
ทีนี้ จุดที่ต้องสังเกตอย่างหน่ึงก็คือ อาการเกิดดับที่เปลี่ยนไปต่าง ๆ นานาแต่ละขณะ อย่างเช่น อาการเกิดดับเขาพุ่งเข้ามา พุ่งเข้ามา เมื่อเห็นอาการเกิดดับในลักษณะอย่างนั้น สิ่งหนึ่งที่เราพึงจะรู้สึกได้ ควบคกู่ นั ไปกค็ อื ตวั สภาพจติ สภาพจติ ใจขณะนนั้ รสู้ กึ อยา่ งไร ? ขณะทอี่ าการเกดิ อยขู่ า้ งหนา้ แลว้ พงุ่ เขา้ มา สว่างวับ ๆ ๆ ใกล้เข้ามา ถามว่า สภาพจิตเป็นอย่างไร ? มีความตั้งมั่น มีความตื่นตัว มีความสงบ มีความ เงียบ หรือมีอาการเฉื่อย ๆ เบลอ ๆ เลือน ๆ สลัว ๆ มัว ๆ ? นี่คือจุดที่ต้องสังเกตว่าสภาพจิตในขณะนั้น เป็นอย่างไร นี่คือการเจาะสภาวะ นี่คือการพิจารณาสภาวธรรมที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นอยู่


































































































   16   17   18   19   20