Page 53 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 53

913
เป็นตัวเราของเรา อยู่ในทุกที่ทุกสถาน อยู่ที่ไหนก็รู้สึกว่าเป็นของเรา ๆ ถ้าไม่ได้ฟังธรรม ไม่ได้น้อมนามา พิจารณา เพื่อให้เห็นแจ้งตามความเป็นจริงแล้ว โดยทั่วไปเราจะเห็นว่า ในโลกนี้ บุคคลในโลกนี้ มีใครบ้าง ไม่คิดว่ารูปนามนี้เป็นของเรา ส่วนใหญ่เลยนะ ส่วนใหญ่ก็คิดว่าเป็นตัวเรา ของเรา
เพราะฉะนั้น เราจะได้เห็นว่า คาว่า มีอีโก้ (Ego) หรือมีอัตตา มีตัวตน มีทิฐิ มีมานะทิฐิมากมาย ก็ เพราะความยึดมั่นในอะไร รูปนามอันนี้ว่าเป็นตัวเราของเรา ยึดมั่นในความคิด ตัวเราของเรา ยึดมั่นในตัว เรา ตรงนี้คืออะไร อันนี้เขาเรียกว่ารูป รูปนาม กายที่นั่งอยู่นี่นะเรียกว่ารูป ทีนี้ในการพิจารณา ที่บอกว่าจุด เริ่มต้นตรงนี้ เมื่อพิจารณาในเบื้องต้นเพื่อคลาย คลายการเข้าใจผิด เพื่อละอวิชชาในเบื้องต้น คลายความ เห็นผิด จึงพิจารณากาหนดรู้ว่า ให้ใส่ใจกาหนดรู้ในรูปนามขันธ์ ๕ นี้ กาหนดรู้ถึงความเป็นขันธ์ ๕ ความ เป็นคนละส่วนของขันธ์ทั้ง ๕ ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้
หมายถงึ รปู นนี่ ะ กาย ใจ สว่ นใหญเ่ ราจะเหน็ เปน็ รปู เดยี ว เปน็ รปู เดยี วคอื กายกบั ใจ เปน็ ตวั เดยี ว ๆ แต่ทาไมพระพุทธเจ้าถึงตรัสว่า เป็น ๕ อย่างรวมกัน เป็นการแยก เป็นเรื่อง ๕ เรื่อง ๕ อย่างรวมกันเข้า เป็นอันเดียว คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เรียกว่าขันธ์ทั้ง ๕ จึงรวมกันแล้วว่าเป็นรูปนามอันนี้ เป็นของเรา
เพราะฉะนนั้ เรมิ่ ตน้ จงึ ใหว้ ธิ กี ารทจี่ ะทา ใหเ้ หน็ ความจรงิ จงึ พจิ ารณากอ่ นวา่ จติ กบั กายเขาเปน็ สว่ น เดยี วกนั หรอื คนละสว่ น อยา่ งทเี่ ราแยกรปู นาม ใชค้ า วา่ แยกรปู นาม พจิ ารณาถงึ วา่ แยกกายแยกจติ หรอื ยก จิตขึ้นสู่ความว่าง ทาให้จิตว่าง ทาไมถึงแยกแบบนี้ ทาให้จิตว่างจิตเบา ทาไมถึงต้องทาให้จิตว่างจิตเบาก่อน เพราะถ้าจิต...เมื่อไหร่รู้สึกว่าง รู้สึกเบา รู้สึกโล่ง เราจะเห็นถึงความแตกต่าง ระหว่างตัวกับจิตนี่นะต่างกัน อย่างไร
แต่แค่รู้สึกว่างเฉย ๆ อยู่ที่ตัวก็เฉย ๆ อยู่ข้างนอกก็เฉย ๆ ปึ๊บนี่นะ เหมือนเท่ากันหมด ตรงนี้แยก ไมอ่ อก พอแยกไมอ่ อก กจ็ ะไมร่ วู้ า่ อนั ไหนคอื จติ อนั ไหนคอื กาย ไดแ้ ตค่ ดิ วา่ จติ อยตู่ รงไหนไมร่ ู้ แตถ่ า้ แยก ได้ เขาจะเห็นชัดถึงความแตกต่างกัน ถึงแม้ว่าตัวจะเบาด้วย จิตเบา จิตว่าง จิตเบาโล่งแล้วตัวก็เบาด้วย ก็ ยังบอกได้ถึงความแตกต่าง ระหว่างตัวที่เบากับจิตที่เบา อันนี้คือการแยกรูปแยกนาม
เพราะฉะนั้นจิตที่เบา พอสังเกตจิตที่ว่างเบากับตัว เห็นจิตที่ว่างเบากว้างกว่าตัวปุ๊บ นี่คือการเห็น เป็นคนละส่วนแล้ว ระหว่างจิตที่เบากับตัวที่เบา และตัวนั่งอยู่ในที่เบา ๆ ด้วย ตัวที่นั่งอยู่ในบรรยากาศของ ความเบา ตวั กเ็ บา จติ กเ็ บา แตก่ แ็ ยกชดั ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นกนั ตรงนคี้ อื การกา หนดรอู้ ยา่ งนี้ เพอื่ อะไร เพอื่ ละอวชิ ชาอยา่ งหนงึ่ ...ความเขา้ ใจวา่ เปน็ รปู นามนเี้ ปน็ สว่ นเดยี วกนั พอกา หนดรอู้ ยา่ งนี้ ตวั จติ ทเี่ บาแยก ออก จิตที่เบากับตัว แยกออกเป็นคนละส่วนกัน
อย่างที่อาจารย์พูดวันก่อนว่า การเห็นการเป็นคนละส่วน เรื่องของขันธ์ จริง ๆ แล้ว พูดตลอด ทุกวัน เรื่องของขันธ์นี่นะ เพราะอะไร นี่คือแกนหลัก เป็นจุดเริ่มต้นที่เราจะคลายอุปาทานได้ พอแยกจิต กับกายเป็นคนละส่วนกันปุ๊บ จิตที่ว่างเบา สังเกตจิตที่ว่างเบา เขาบอกว่าเป็นเราไหม จิตที่กว้าง ที่เบา กว้าง


































































































   51   52   53   54   55