Page 6 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 6

866
เพราะฉะนั้น การที่เราสังเกตดูสภาพจิตในขณะที่ตามรู้การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ต่าง ๆ นั้น เมอื่ อาการเหลา่ นนั้ สนิ้ สดุ ลง ผลทเี่ กดิ ขนึ้ โดยตรงคอื สภาพจติ ใจของเรา ทเี่ ราบอกวา่ ปฏบิ ตั แิ ลว้ อยากใหจ้ ติ เรามีความสงบขึ้น อยากทาจิตใจให้สบาย อยากปล่อยวางให้ว่างให้อิสระ... ถ้าไม่สังเกตดูที่จิต เราก็จะไม่ เห็นว่าจิตที่อิสระเป็นอย่างไร ถ้ามัวแต่ดูแค่ “อาการ” ของรูปอย่างเดียว เราจะไม่เห็นว่าจิตจริง ๆ เขาเป็น อย่างไร ก็กลายเป็นความกังวลว่าทาไมไม่เป็นอย่างนั้นทาไมไม่เป็นอย่างนี้... แล้วที่เป็นอยู่เป็นอย่างไร ? เพราะฉะนั้น การกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบันจึงต้องใส่ใจดี ๆ
เหมอื นขณะนเี้ ชน่ เดยี วกนั ลองกลบั มาดวู า่ สภาพจติ ใจของเราตอนนเี้ ปน็ อยา่ งไร ถา้ จติ ใจรสู้ กึ นงิ่ ๆ เฉย ๆ รู้สึกหนัก ๆ ทาอย่างไร ? ถ้าพิจารณาดูแล้ว จิตกับกายเป็นส่วนเดียวกัน ก็ให้ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิตให้ว่างให้กว้าง ทาจิตให้โล่งให้เบา การยกจิตขึ้นสู่ความว่างเป็นการแยกรูปนามแยกกายแยกจิต ออกมา ทาจิตให้ว่าง ๆ ให้โล่ง ๆ ให้เบา ๆ ทาจิตให้ควรแก่การงาน ถ้าเราทาจิตของเราให้ผ่อนคลาย มี ความโล่ง ความโปร่ง ความเบา และพร้อมที่จะฟังธรรม พร้อมที่จะพิจารณาสภาวธรรมที่ปรากฏอยู่เฉพาะ หน้าเรา ตรงนี้จะทาให้การปฏิบัติธรรมของเราไม่ติดขัดง่าย ๆ มีความพร้อมมีความพอใจที่จะรับรู้ทุก ๆ สภาวะที่เกิดขึ้น
ในขณะที่ฟังธรรม พอพูดถึงว่าสภาพจิตเป็นอย่างไร เราก็ “ยกจิต” พอยกจิตขึ้นสู่ความว่างแล้ว พิจารณาอะไร ? มีสองอย่างที่เกิดขึ้น หนึ่งก็คือ เสียงที่ได้ยิน เสียงธรรมะที่กาลังพูดอยู่ สองก็คือ สภาวธรรมที่กาลังปรากฏ ก็คือลักษณะของสภาพจิตใจ ต้องรู้ให้ชัดว่าเมื่อยกจิตขึ้นสู่ความว่างแล้วสภาพ จติ ใจเปลยี่ นเปน็ อยา่ งไร... มคี วามเบา ความวา่ ง ความโลง่ ความโปรง่ ความสงบ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เกดิ ขนึ้ และพิจารณารู้ชัดว่า ขณะที่จิตว่าง จิตโล่ง จิตโปร่ง จิตเบา ทาให้กว้าง ๆ แล้วสังเกตว่า มีตัวตนไหม มี ความรู้สึกว่าเป็นเราไหม หรือว่าไม่มีความรู้สึกว่าเป็นเรา ? แล้วจิตที่โล่ง ที่เบา ที่สงบ ที่ว่าง ที่กว้างนั้นดี ไหม ดีอย่างไร ?
คาถามแบบนี้นี่แหละสาคัญ บางครั้งเราปฏิบัติธรรม พอจิตว่างแล้วเราไม่ได้ตามดูว่าจิตที่ว่าง ดีอย่างไร รู้แต่ว่าว่าง ๆ แล้วไม่มีอะไรให้ดู ว่างแบบไหน... ว่างอย่างมีสติหรือว่างอย่างเลื่อนลอย ? ถ้าว่า งอย่างมีสติ รู้ชัดในอาการที่เกิดขึ้น รู้ชัดในจิตที่ว่างอันนั้น รู้ชัดว่าไม่มีตัวตน ว่างที่ประกอบด้วยสติ สมาธิ และปัญญาในตัว สมาธิคืออะไร ? คือความสงบ ความไม่วุ่นวายไม่กระสับกระส่าย พอจิตว่างเมื่อไหร่ ก็ไม่มีอาการกระสับกระส่ายเกิดขึ้นไม่มีความวุ่นวายเกิดขึ้น ถามว่า จิตตรงนั้นดีไหม ? อันนี้สาคัญนะ ถ้าเราสรุปไม่ได้ว่าจิตแบบนี้ดีหรือไม่ดี เราปฏิบัติไปแล้วเราจะเห็นอะไร ? มัวแต่จะหา ๆ ๆ หาสภาวะที่ เกิดขึ้น
ปฏิบัติธรรม...อยํากมีจิตที่ดีขึ้น จิตที่ดีขึ้นเป็นอย่างไร ? จิตที่สงบ จิตที่เบา จิตที่ใส จิตที่มั่นคง หรือจิตที่สะอาดขึ้นสบายขึ้นกว่าเดิม อันนี้คือลักษณะของจิตที่ดีขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน พอจิตดีขึ้นแล้วก็ ตอ้ งมาทบทวนพจิ ารณาวธิ คี ดิ ของเรา ทศั นคตหิ รอื ทฏิ ฐขิ องเรา มมุ มองของเราทมี่ ตี อ่ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ อยา่ ง เช่น การใช้จิตที่ดีทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ดีกับเราอย่างไร หรือถ้าเราย้อนกลับไปพิจารณาดูว่าการรับรู้อารมณ์


































































































   4   5   6   7   8