Page 8 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 8

868
กาลังของสติ-สมาธิ-ปัญญาที่เราปฏิบัติมา ถ้าเราปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง นั่งกรรมฐานพิจารณาสังเกตดูทุก ๆ อาการทเี่ กดิ ขนึ้ สภาวธรรมเหลา่ นกี้ จ็ ะปรากฏเกดิ ขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ อาการของความคดิ หรอื เวทนา ตรง นี้เป็นอารมณ์หลักของกรรมฐานเลย เขาเรียกว่า “ดูกาย เวทนา จิต ธรรม” และอารมณ์อีกอย่างหนึ่งที่เรา พึงพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ก็คือ “รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจ” อารมณ์เหล่านี้ ก็ล้วนเป็นสภาวธรรมที่เราสามารถนามาเป็นอารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐานได้
คา วา่ “ยกจติ ขนึ้ สวู่ ปิ สั สนา” ตรงนแี้ หละ การทเี่ รามเี จตนาใสใ่ จกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของอารมณ์ ไหน อารมณ์นั้นก็เป็นอารมณ์วิปัสสนา การที่เราใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับของเสียง เสียงก็เป็น อารมณ์ของกรรมฐาน การที่เราใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับของความคิด ความคิดก็เป็นอารมณ์ของ กรรมฐาน การที่เรามีเจตนาใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับของกลิ่น กลิ่นก็เป็นอารมณ์กรรมฐาน การ ที่เรามีเจตนาเข้าไปกาหนดรสชาติในขณะที่เรารับประทานอาหารหรือดื่มน้า รสชาติมีการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่- ดับไป รสอันนั้นก็เป็นอารมณ์กรรมฐานในขณะนั้น เพราะฉะนั้น รูป-เสียง-กลิ่น-รส-สัมผัส-ธรรมารมณ์ที่ เกิดขึ้น ทุก ๆ อาการจึงเป็นอารมณ์กรรมฐานได้ทั้งหมด เหลือแค่มี “เจตนา” ที่จะเข้าไปกาหนดรู้เท่านั้นเอง
หน้าที่ของเรา...เราศึกษาอะไร ? ศึกษาธรรมชาติของรูปนามขันธ์ห้า รูป-เสียง-กลิ่น-รส-สัมผัส- ธรรมารมณ์ เพื่อพัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาของเราให้แก่กล้าขึ้นให้เห็นชัดมากขึ้น ก็ต้องอาศัยอารมณ์ต่าง ๆ เหลา่ นนี้ แี่ หละเปน็ อารมณก์ รรมฐานในการเจรญิ สตขิ องเรา ไมว่ า่ ในอริ ยิ าบถยนื -เดนิ -นงั่ -นอน-กนิ -ดมื่ -ทา - พูด-คิด ก็มีสติกาหนดรู้ทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้นว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร เพราะฉะนั้น ขณะนี้ที่ เรากาลังนั่งปฏิบัติธรรมอยู่ ลองดูว่า อาการอะไรที่ปรากฏชัด ? เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นมา ให้พิจารณาว่าพอ มสี ตเิ ขา้ ไปกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของความคดิ อาการเกดิ ดบั ของความคดิ ขณะนตี้ า่ งจากทผี่ า่ นมาอยา่ งไร... ดับแล้วมีเศษไหม หรือดับแล้วเกลี้ยงไป ดับเงียบไป ดับแล้วว่างไปเลย ?
ตรงนี้คือสังเกตถึงความแตกต่างของอายุอารมณ์ ถึงลักษณะอาการเกิดดับของอารมณ์นั้น ๆ การ ที่สนใจสังเกตถึงความแตกต่างของอายุอารมณ์ อายุอารมณ์ยิ่งสั้นการปรุงแต่งยิ่งน้อย อายุอารมณ์ยิ่งสั้น จิตก็ยิ่งสงบยิ่งว่างได้ง่ายขึ้น เพราะฉะนั้น เราจะทาให้อายุอารมณ์สั้นได้อย่างไร ? ก็ด้วยการใส่ใจกาหนดรู้ อาการเกิดดับของอารมณ์นั้น ๆ ให้เร็วให้ต่อเนื่องขึ้น อย่างเช่น ความคิดเกิดขึ้น พอมีสติกาหนดรู้ รู้แล้ว ดับ ดับปึ๊บแล้วความคิดเกิดต่อทันทีไหม ? ถ้าเกิดทันทีก็กาหนดต่อเนื่องไปเลย และสังเกตดูว่าดับต่าง จากเดิมอย่างไร พร้อมที่จะรู้ทันที ทันที ทันที... อย่างต่อเนื่อง นี่คือการกาหนดรู้ความคิด
แตถ่ า้ ไมม่ คี วามคดิ เกดิ ขนึ้ เลย จติ มแี ตค่ วามวา่ ง ความเบา ความสวา่ ง อยา่ งทบี่ อกแลว้ ถา้ วา่ ง ๆ เบา ๆ สว่าง ๆ ความสว่างไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่พอไปดูข้างในสภาพจิต รู้สึกโล่ง ๆ เบา ๆ ว่าง ๆ ตรงนั้น เป็นสิ่งสาคัญ สาคัญตรงที่เรารู้ว่าจิตโล่ง จิตเบา จิตว่าง เพราะจิตก็มีการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้น ลอง เข้าไปรู้ในจิตที่ว่าง ๆ ที่โล่ง ๆ เบา ๆ จิตที่โล่งเบามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เข้าไปสารวจดู ถ้าจิตที่โล่ง เบานั้นกว้างแบบไม่มีขอบเขตเลย จะสารวจอย่างไร ? ถ้าเราบอกได้ว่ากว้างแบบไม่มีขอบเขต แสดงว่าเรา สามารถสา รวจตรวจสอบจติ ตวั เองได้ เราจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ จติ กวา้ งถา้ เราไมส่ ามารถเขา้ ไปสา รวจตรวจสอบได้


































































































   6   7   8   9   10