Page 7 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 7

867
ต่าง ๆ เรารับรู้ด้วยจิตประเภทไหนจึงทาให้ความทุกข์เกิดขึ้น และพอยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิตให้ว่างไม่มี ตัวตน แล้วความทุกข์นั้นดับไป เหลือแต่ความสงบ ความสบาย ความโล่ง ความโปร่ง ความเบา... การใช้ จิตแบบนี้ดีอย่างไร และควรที่จะใช้ต่อเนื่องมากน้อยแค่ไหน อันนี้ต้องพิจารณา
ถามตัวเองดูว่า การใช้จิตที่ว่างจากตัวตนในการรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวส่งผลดีต่อ ตัวเองอย่างไร ? ผลดีต่อตัวเองโดยตรงอย่างหนึ่งก็คือว่าไม่ทุกข์ แต่อีกอย่างหนึ่งที่เชื่อมโยงไปด้วยกัน ก็คือว่าเมื่อไม่ทุกข์แล้วจะทาความเข้าใจอารมณ์ที่ปรากฏขึ้นรอบตัวอย่างไร มองเห็นประโยชน์หรือโทษ อย่างไร ที่จริงแล้วพิจารณาดูถึงความแตกต่างระหว่างอดีตที่ผ่านมา “การที่เรารับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ด้วย ความรู้สึกว่าเป็นเรา รับรู้อย่างมีตัวตนหรือมีอัตตา” กับ “การรับรู้อย่างไม่มีตัวตน มีแต่สติ สมาธิ ปัญญารู้ ตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้น” ความเป็นจริงอย่างหนึ่งก็คือ ความเป็นจริงโดยสภาวะ ความเป็นคนละส่วน ระหว่างจิตกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น และไม่มีเรา
ความเป็นจริงอีกอย่างหนึ่งคือ ความเป็นจริงของเรื่องราวที่เกิดขึ้น พิจารณาทาความเข้าใจว่า เรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง ๆ นั้นเป็นอย่างไร อันนี้คือการพิจารณาถึงเรื่องราวที่ปรากฏ เมื่อพิจารณาความจริง เหล่านั้นด้วยจิตที่ว่างจากตัวตน/ว่างจากความเป็นเรา ทาให้มุมมองเรื่องราวนั้นต่างไปอย่างไร ยังมีมุมมอง ที่แคบอยู่เหมือนเดิม หรือมีมุมมองที่กว้างข้ึนกว่าเดิมชัดเจนกว่าเดิม อันนี้ก็เพื่อประโยชน์ในการดาเนิน ชีวิตของเราต่อไป การที่เราฝึกจิตของเราให้สงบ ให้มีความว่าง ให้มีความอิสระมากขึ้น ก็เพื่อสลัดการ ถูกครอบงาด้วยโลภะ-โทสะ-โมหะ เพื่อไม่ถูกครอบงาด้วยอวิชชาเหล่านี้ จิตจะได้พิจารณาถึงสิ่งที่เกิดขึ้น จริง ๆ นั่นเอง
ทีนี้ขณะนี้ลองพิจารณาดูว่า ระหว่าง “เสียง” กับ “สภาวธรรมที่เกิดขึ้น” เราจะเลือกรู้อะไร ? ถ้า สภาวธรรมทเี่ กดิ อยเู่ ฉพาะหนา้ เปน็ แสงสวา่ งทมี่ คี วามชดั เจนและมกี ารเปลยี่ นแปลง ยงิ่ รเู้ ขา้ ไป...ความสวา่ ง มีอาการสว่างขึ้น สว่างขึ้น เป็นขณะ ๆ และเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ถ้าเป็นอย่างนั้นให้ตามรู้สภาวธรรมที่เกิดอยู่ เฉพาะหนา้ กอ่ น มสี ตเิ ขา้ ไปตามกา หนดรดู้ แู สงสวา่ งไปวา่ เขามกี ารเปลยี่ นแปลงหรอื เกดิ ดบั อยา่ งไร และพอ อาการ(ของแสงสวา่ ง)นนั้ สนิ้ สดุ ลง กม็ าพจิ ารณากา หนดรเู้ สยี งธรรมะตอ่ ... กม็ าเปลยี่ นในจงั หวะนแี้ หละ คอื ตามรู้แสงสว่างไปจนสิ้นสุดลงแล้วค่อยกลับมาดูพิจารณาอาการของเสียง
การพจิ ารณาเสยี งธรรมะ เรากม็ สี ทิ ธทิ์ จี่ ะ “เลอื ก” อยา่ งหนงึ่ คอื เลอื กทจี่ ะ “เอาเสยี งนนั้ มาเปน็ อารมณ์ กรรมฐาน” ดว้ ยการมเี จตนาทจี่ ะเขา้ ไปกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของเสยี งธรรมะทกี่ า ลงั ปรากฏอยู่ วา่ เสยี งเกดิ ขึ้นแต่ละคาแต่ละคามีการเกิดดับอย่างไร และยิ่งมุ่งเข้าไปยิ่งกาหนดรู้อาการเกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร และ อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื วา่ “มเี จตนาทจี่ ะฟงั เปน็ เรอื่ งราว” วา่ ตอนนอี้ าจารยก์ า ลงั พดู ถงึ อะไร พดู ถงึ อาการของอะไร พูดถึงอาการเกิดดับของเสียง พูดถึงอาการเกิดดับของแสง พูดถึงอาการเกิดดับของเวทนา พูด ถึงอาการ เกิดดับของความคิด... อันนี้คือฟังเรื่องราวว่ากาลังพูดถึงอะไรอยู่
สภาวะที่พูดถึง ไม่ว่าจะพูดถึงความคิด พูดถึงแสงพูดถึงสีที่เกิดขึ้นข้างหน้า หรือว่าพูดถึงเวทนา สภาวะเหล่านี้เป็นสิ่งที่โยคีจะต้องเจอ เป็นสภาวธรรมที่จะเกิดขึ้นให้โยคีได้พิจารณาได้เห็นได้รู้อยู่แล้วด้วย


































































































   5   6   7   8   9