Page 76 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 76

936
เลย รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อะไรเกิดขึ้นก็ตาม จิตตัวนี้นะ จะทาหน้าที่รู้ทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น จิตที่ทา หน้าที่รู้ อย่างที่บอกว่า พอเรากาหนดเวทนา เวทนาหมดไปแล้ว ก็เหลือแต่ตัวรู้อย่างเดียว อันนี้แหละเขา เรียกว่า วิญญาณรู้ จิตที่ทาหน้าที่รู้ จะเรียกว่าธาตุรู้ วิญญาณรู้ ใจรู้ ความรู้สึก หรือสติที่ทาหน้าที่รู้อารมณ์ ต่าง ๆ เขาทาหน้าที่ของเขาอย่างนั้น ดีไม่ดีก็รู้ทั้งหมด ดีไม่ดีก็ต้องรับรู้ทั้งหมด นั่นคือธรรมชาติของจิตที่ ทาหน้าที่รู้
แล้วจิตตรงนี้ แม้แต่ตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้เองก็ไม่เที่ยง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป นี่คือเป็นสภาวธรรมที่ จะละเอียดมากขึ้น ที่เราผู้ปฏิบัติธรรมจะต้องใส่ใจให้ต่อเนื่อง ให้มากให้แยบคายขึ้น เพราะฉะนั้นการดูจิต ในจิต พออาการอะไรเกิดขึ้นมา เราก็รู้ตามนั้น อีกอย่างหนึ่ง การดูจิตในจิต เวลาเราปฏิบัติธรรม ขณะที่ เราปฏบิ ตั เิ ปน็ อยา่ งไร พอปฏบิ ตั ิ เวลาเรากา หนดรอู้ าการของลมหายใจ พอลมหายใจหายไป จติ เปลยี่ นเปน็ โล่ง เบา มีความสงบขึ้นมา
พอมีความสงบขึ้นมา การดูจิตในจิตก็คือว่า ดูเข้าไปในความสงบ ดูถึงความสงบอันนั้น จิตที่สงบ นั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร จิตที่โล่งเบานั้นมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร โล่งขึ้น กว้างขึ้น สงบมากขึ้น หรือ ใสขึ้น โปร่งขึ้น สว่างมากกว่าเดิม นั่นคือการดูจิตในจิต ดูต่อเนื่องไป นั่นคือการดูจิตในจิต เพราะฉะนั้น ถ้าเราทาแบบนี้อย่างต่อเนื่องไป สติคอยสังเกตดูกายดูจิตของเรา เราจะเห็นว่า การที่ทาให้จิตสะอาด สว่าง สงบ จะรู้ว่าจิตสะอาดเป็นอย่างไร จิตสว่างเป็นอย่างไร จิตสงบเป็นอย่างไร จิตที่ใสเป็นอย่างไร
เพราะจิตที่ขุ่นมัวเรารู้แล้วนะ มีใครบ้างที่ไม่เจอจิตขุ่นมัวเลยในชีวิต คงมีบ้างแหละนะ คิดว่าคงมี บ้างแหละ ที่ไม่เคยเจอ...หรือหาได้ยากเต็มที เพราะธรรมชาติของโลกของการเกิดนี่นะ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกดิ มากต็ อ้ งเจอความทกุ ข์ เปน็ เรอื่ งปกตธิ รรมดา จงึ หาไดน้ อ้ ย วา่ ใครทไี่ มเ่ คยเจอความขนุ่ มวั เลย กเ็ ลยจา ไม่ได้ จาไม่ได้ลืมไปแล้ว เกิดตั้งนานแล้วลืมไปแล้ว เพราะฉะนั้นการกาหนดรู้แบบนี้ จึงเป็นสิ่งสาคัญ การ ที่เรากาหนดรู้ เขาเรียกรู้รูปนาม ดูกายดูจิตนี่นะ เป็นการรู้ที่เราไม่ต้องปรุงแต่ง เป็นการสังเกตสภาวธรรม ที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นจริง ๆ อันนี้คือหลักการ
แล้วสภาวธรรมคืออะไร สภาวธรรม ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐานนี่นะ สภาวธรรม คืออาการเกิดดับ ของทุก ๆ อารมณ์เลย รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ที่มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป นั่นคือตัว สภาวธรรม แลว้ อกี อยา่ งหนงึ่ สภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ทเี่ ราอาจจะไมไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ เสยี งเปน็ ความคดิ อยา่ งเชน่ มีอาการเป็นแสงวาบขึ้นมา เกิดดับ วับ วับ วับ มีอาการเป็นคลื่น มีอาการกระเพื่อม ตรงนี้นะเกิดขึ้นมา เป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
เวลาสภาวธรรมเหล่านี้เกิดขึ้นนี่นะ หน้าที่ของผู้ปฏิบัติที่บอกว่า ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้ สภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ มาวา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ดบั ไปอยา่ งไร อนั นคี้ อื หลกั การสา คญั นะ หลกั การสาคัญ อาจารย์พูดถึงอารมณ์หลัก ๆ ทั้ง ๔ อย่างนี่นะ เพื่อให้เป็นแนวทางว่า เมื่อไหร่ก็ตาม เวลาเรา เจริญกรรมฐาน อาการเหล่านี้เกิดขึ้น หรือว่าหน้าที่ของเรา ของผู้ปฏิบัติ ให้ใส่ใจอารมณ์ปัจจุบัน ๔ อย่างนี้ จะเป็นอารมณ์ปัจจุบัน หรือเป็นอารมณ์หลักเกิดขึ้น ให้เราได้ตามรู้


































































































   74   75   76   77   78