Page 209 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 209

185
ของเราไม่ได้ กลับไปแล้วก็ไปเจอปัญหาอีก ทุกข์เหมือนเดิมอีก เพราะเรา ไม่รู้จักวิธีแก้ปัญหา
เราดับทุกข์ตรงนี้ได้ ดับอารมณ์ ความคิดของเราได้ เราดับทุกข์แล้ว ก็ยังต้อง “คิด” ดับความเครียดได้แล้ว เราก็ต้องกลับไปคิดแก้ปัญหาที่ทาให้ เราเครยี ดเมอื่ กอ่ น เพยี งแตว่ า่ ไมต่ อ้ งไปเครยี ดกบั มนั อกี “คดิ อยา่ งไมเ่ ครยี ด” เอามาใช้ประโยชน์ตรงนี้แหละ ตรงภาวนามยปัญญาคือ เรา “ดับความทุกข์” จินตามยปัญญาก็ต้องไป “แก้ปัญหา” ต้องใช้ความคิด ปัญหามีอยู่ ๒ อย่าง ปัญหาข้างนอกกับปัญหาภายใน ปัญหาภายในทาให้เราทุกข์ ปัญหาภายนอก ก็แก้ไป สองอย่างต้องควบคู่กันไป ทั้งจินตามยปัญญาและภาวนามยปัญญา
แต่ตอนที่เราเจาะสภาวะ ตอนที่รู้อาการเกิดดับ ไม่ต้องใช้ความคิด หรอก ใช้ “การสังเกต” อย่างเดียว ไม่ใช่ไม่ใช้ความคิดแล้วไม่สนใจอาการ “สนใจ” ลักษณะอาการเกิดดับ “สังเกต” อาการเกิดดับอย่างเดียว ตรงนั้น ไม่ต้องคิด! ถ้าคิดแล้วมันจะหยุด แทนที่จะมุ่งไปสู่ปรมัตถ์ สภาวธรรมที่ ละเอียดจริง ๆ ก็จะถอยกลับมาคิดเป็นระยะ ๆ ก็จะทาให้การเดินทางของเรา ช้าลง เพราะฉะนั้น เวลาเจาะสภาวะรู้อาการเกิดดับไม่ต้องคิด แค่สังเกตรู้การ เปลี่ยนแปลง ว่าเขาเกิดดับอย่างไร เปลี่ยนไปอย่างไร สภาพจิตเป็นอย่างไร ไม่ต้องไปคิดว่าหมายความว่าอย่างไร แต่ถ้าบัญญัติ เราต้องคิด แล้วคิดให้ เป็น “ถ้าคิดเป็นก็เป็นสุข คิดไม่เป็นก็เป็นทุกข์”
สุดท้ายนี้ก็ขออานิสงส์บุญกุศลที่เราได้ทามา ไม่ว่าจะเป็นการให้ทาน การรักษาศีล หรือการเจริญภาวนาก็ตาม จงมาเป็นตบะ เป็นพลว เป็นปัจจัย ให้เราทั้งหลาย จงประสบแต่ความสุขความเจริญ ปรารถนาสิ่งใดก็ขอให้ สาเร็จสมความปรารถนาทุก ๆ ประการด้วยกัน ทุกคนเทอญ


































































































   207   208   209   210   211