Page 352 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 352

328
ถึงบุญกุศลที่เราได้ทา แล้วใส่เข้าไปในใจที่ว่าง ๆ บริเวณหทยวัตถุ หรือใคร จะเติมความนิ่มนวลอ่อนโยนก็ได้ ความรู้สึกดี ๆ ที่เคยเกิดขึ้นที่ผ่านมา จาก สิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ได้ เพราะความรู้สึกดี ๆ เหล่านั้นคือความรู้สึกที่เป็นกุศล แล้ว ก็ใส่เข้าไปให้เต็ม เมื่อใส่เข้าไปให้เต็มแล้ว เรารู้สึกไหมว่า จิตใจเรามีความ อิ่มใจ มีความสุข หรือสบายใจ ?
ใจที่สบายตรงนี้ เมื่อกี้เราให้กว้างออกมานอกตัวได้ ต่อไปเมื่อใจเรา มีความสุข เราก็ให้ใจที่มีความสุขนี่แหละกว้างออกไป และที่สาคัญ เราต้อง รู้ชัดด้วยว่า ใจที่มีความสุขสามารถ “เคลื่อนย้ายที่ได้” อย่างเช่น เอาใจที่มี ความสุขมาไว้ที่หน้าได้ เอามาไว้ที่มือได้ ส่งใจที่สุขไปที่บ้านได้... ที่ทาอย่าง นี้เพื่ออะไร ? เพื่อว่าเวลาเราแผ่เมตตา หรือแผ่ความสุข แผ่บุญกุศลให้กับ บุคคลผู้มีคุณ หรือเป็นเพื่อน เป็นมิตร เป็นญาติ เป็นพี่ เป็นน้อง เราก็ส่ง บุญนี้ไปให้ได้ นี่คือวิธีการทาจิตให้ว่าง และน้อมความสุขหรือน้อมบุญเข้ามา ใส่ตัว เจริญพร
โยคี : ถ้าเรามีอาการ “ยึดติด” กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นรูป รส กลิ่น เสียง วัตถุสิ่งของ... เราจะต้องแก้โดยการทาจิตให้ว่าง ๆ อยู่เสมอ ใช่ หรือไม่คะ ?
พระอาจารย์ : ใช่! ถ้าเรายังติดอยู่ในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และ ธรรมารมณ์ต่าง ๆ นี่ วิธีแก้ ถ้าเราใช้จิตที่ว่าง “รับรู้อารมณ์” เหล่านั้น การ ยึดติดก็จะดับไป! เพราะอะไร ? สังเกตดูว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่เราใช้จิตที่ว่าง รับรู้อารมณ์ เราจะเห็นว่าจิตที่ว่างกับอารมณ์เหล่านั้น “ไม่เกี่ยวข้อง” กัน และมี “ช่องว่าง” ระหว่างจิตเรากับอารมณ์อันนั้น เมื่อมีช่องว่าง จิตก็จะไม่ยึด ติด! สังเกตดูว่า อารมณ์ที่ติดใจเรา มันจะเข้าถึงใจเรา ไม่มีช่องว่าง เพราะ ฉะนั้น การยึดติดเกิดขึ้น เพราะ “มีเรา” และ “เข้าถึงใจ”
การใชจ้ ติ ทวี่ า่ งรบั รอู้ ารมณ์ จะเปน็ “ตวั ปอ้ งกนั ” ปอ้ งกนั อกศุ ลทอี่ าศยั อารมณ์นั้นเกิดขึ้นได้ อย่างที่บอกแล้วว่า ถ้าเราใช้จิตที่ว่าง ๆ ที่เบา กว้างกว่า


































































































   350   351   352   353   354