Page 424 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 424

400
ใหญ่ของเรา เราต้องมีเจตนาที่จะเปลี่ยนด้วย ถ้าไม่มีเจตนาที่จะเปลี่ยน เรา ก็ไม่เปลี่ยน กลายเป็นของเดิม ๆ ไม่ยอมเปลี่ยนแปลง ไม่แก้ไขกิริยาอาการ ที่เกิดขึ้น บางทีมีเจตนาดี แต่กิริยาอาการไม่ดี ก็กลายเป็นสิ่งที่ไม่ดีไป หรือ มีเจตนาดี แต่พูดทีก็จิตตกอย่างนี้ ก็ไม่ดี! มีความปรารถนาดี แต่เหมือน ประสงค์ร้าย ก็ไม่ดี! จริง ๆ แล้ว คนฟังเข้าใจก็ดี คนฟังไม่เข้าใจก็กลาย เป็นเรื่องไม่ดี
เพราะฉะนั้น สิ่งเหล่านี้ถ้าควบคู่กันได้ก็จะดี ทาให้เป็นไปในแนวทาง เดียวกันระหว่างรูปกับนาม กายกับใจ ดูแล้วดูดี สัมผัสทางใจ ดี! พอสัมผัส ทางตา ก็รู้สึกดี! ได้เห็นก็เป็นบุญตา ได้เจรจาก็เป็นบุญปาก... ไม่ใช่ได้เห็น แล้วขัดเคืองสายตาจังเลย! ปฏิบัติแล้ว เห็นแล้ว ขัดหูขัดตา ก็ไม่ดี! ใจดีแต่ เห็นแล้วขัดหูขัดตาจัง ทาให้ความดีที่มีอยู่มันไม่ครบ มันก็เลยไม่สมบูรณ์ ทาแล้วจะรู้สึกว่า เอ! ทาไมเราคิดดี คนอื่นถึงว่าเราไม่ดี!? เรามีเจตนาดี เราพูดดี ทาไมถึงว่าเราไม่ดี! ? นั่นแหละต้องมาทบทวนตัวเองอีกเราพูดอะไร
อาจารย์จึงบอกว่าระหว่างเจตนากับการกระทาให้ตรงกัน เจตนาดี แต่การกระทาดูแล้วเหมือนไม่ดี กลายเป็นว่าเจตนากับการกระทาไม่ตรงกัน คนอื่นเขาเห็นแค่อาการทางกาย บางครั้งเขาไม่รู้เจตนา เพราะฉะนั้น พยายาม ทาให้ตรงกัน ถ้าทาตรงกันได้จะดีเยอะเลย นั่นแหละสาคัญมาก ๆ ทายังไง ปากกับใจถึงตรงกัน ? พอตรงมากก็ไม่ดีนะ ต้องรู้จักยืดหยุ่น ตรงมากคน ฟังก็ โห! มากไป แปลกนะมนุษย์! บางครั้งชอบให้เขาพูดตรง ๆ แต่ตรง มากไม่ดี รับไม่ได้! บอกอาจารย์ บอกตรง ๆ เลย เตือนได้เลย บอกตรง ๆ อาจารย์ยังคิดอยู่ตั้งนานเลย ขนาดเลียบ ๆ เคียง ๆ แล้วยังรับไม่ได้ ถ้า ตรงจะขนาดไหน!
มันมีอย่างหนึ่ง ตรงเกินไป เราไม่ได้ใช้ปัญญา คือเราไม่ได้คิด พอ เราไม่ได้คิด ไม่ใช่ความรู้ของเรา พอไม่ใช่ความรู้ของเรา เราก็ไม่จา ลืม! พอ เจอเรื่องเดิมอีก อ้าว! ลืมไปแล้ว แต่ถ้าเรารู้ เป็นปัญญาของเรา อ๋อ! เรื่อง


































































































   422   423   424   425   426