Page 194 - วทยาศาสตรเพอพฒนาอาชพธรกจและบรการ
P. 194

190


                        เมื่อทดลองให้รังสีทั้งสามชนิดเคลื่อนที่ผ่านไปในตัวกลางต่าง ๆ


               ได้แก่ กระดาษ อะลูมิเนียม ตะกั่ว เป็นต้น พบว่ารังสีแอลฟาไม่สามารถ


               เคลื่อนที่ผ่านกระดาษได้  รังสีบีตาสามารถเคลื่อนที่ผ่าน  แผ่นกระดาษได้


               แต่ผ่านแผ่นอะลูมิเนียมไม่ได้สําหรับรังสีแกมมาสามารถทะลุผ่าน


               แผ่นกระดาษและแผ่น  อะลูมิเนียมได้ แต่ผ่านแผ่นตะกั่วไม่ได้แสดงว่ารังสี


               แกมมามีอํานาจทะลุผ่านสูงที่สุด  รองลงมาคือรังสีบีตาและแอลฟา


               ตามลําดับ























                     รูปที่ 9.6 แสดงอํานาจทะลุผ่านของรังสีแอลฟา  เบตาและแกมมา


                   5.3 กำรวิเครำะห์ชนิดของรังสี


                        เมื่อนําสารกัมมันตรังสีใส่ลงในแท่งตะกั่วที่เจาะรูให้รังสีออกมา


               ช่องทางเดียวพุ่งเป็นเส้นตรง ย่านสนามไฟฟ้า พบว่ารังสีบีตาเบนเข้าหาตัว


               บวก รังสีแอลฟาหรืออนุภาคแอลฟาเบนเข้าหาขั้วลบ ส่วนรังสีแกมมา


               เป็นกลางทางไฟฟ้าไม่เบี่ยงเบนเพราะไม่ถูกดูดหรือผลักด้วยอํานาจ


               แม่เหล็กหรืออํานาจ นําไฟฟ้า
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199