Page 40 - การให้รหัสโรค
P. 40
29
• ก้อนเลือดจากหลอดเลือดแดง (arterial haematoma)
• แตก (rupture)
การบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อ พังผืด และเอน (injury to muscle, fascia and tendon)
็
รวม:
ถูกดึงขาด (avulsion)
ถูกตัด (cut)
การฉีกขาด (laceration)
เคล็ด (strain)
แตกจากการบาดเจ็บ (traumatic rupture)
การบาดเจ็บแบบบดอัด (Crushing injury)
การถูกตัดอวัยวะจากการบาดเจ็บ (Traumatic amputation)
การบาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน (Injury to internal organs) รวม:
การบาดเจ็บจากแรงระเบิด (blast injuries)
ฟกซ้ำ (bruise)
การบาดเจ็บจากการกระแทรก (concussion injuries)
การบดอัด (crushing)
การฉีกขาด (laceration)
จากการบาดเจ็บ:
• ก้อนเลือด (haematoma)
• ถูกเจาะ (puncture)
• แตก (rupture)
• ฉีกขาด (tear)
การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
และอกอย่างน้อย 1 รหัสอยู่ในบทที่ 20 สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย เป็น
ี
บทที่รวบรวมลักษณะ และกลไกที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บทั้งหมดเอาไว้ (V, W, X, Y) ของ ICD-10 บท
นี้ประกอบด้วยกลุ่มรหัสต่อไปนี้
V01-X59 อุบัติเหตุ
V01-V99 อุบัติเหตุการขนส่ง
V01-V09 คนเดินเท้าบาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V10-V19 ผู้ใช้รถถีบบาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V20-V29 ผู้ใช้รถจักรยานต์บาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V30-V39 ผู้ใช้รถสามล้อเครื่องบาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V40-V49 ผู้ใช้รถยนต์บาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V50-V59 ผู้ใช้รถบรรทุกเล็กหรือรถตู้บาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V60-V69 ผู้ใช้รถบรรทุกหนักบาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V70-V79 ผู้ใช้รถโดยสารบาดเจ็บในอุบัติเหตุการขนส่ง
V80-V89 อุบัติเหตุการขนส่งทางบกอื่น
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ