Page 41 - การให้รหัสโรค
P. 41
30
V90-V94 อุบัติเหตุการขนส่งทางน้ำ
V95-V97 อุบัติเหตุการขนส่งทางอากาศและอวกาศ
V98-V99 อุบัติเหตุการขนส่งอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
W00-X59 สาเหตุภายนอกอื่นของการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
W00-W19 การตกหรือล้ม
W20-W49 การสัมผัสแรงเชิงกลของสิ่งไม่มีชีวิต
W50-W64 การสัมผัสแรงเชิงกลของสิ่งมีชีวิต
W65-W74 การจมน้ำตายหรือจมน้ำจากอุบัติเหตุ
W75-W84 อุบัติเหตุอื่นที่คุกคามการหายใจ
W85-W99 การสัมผัสกระแสไฟฟ้า รังสี อุณหภูมิและความดันสุดขั้ว
X00-X09 การสัมผัสควัน ไฟ และเปลวไฟ
X10-X19 การสัมผัสความร้อนและวัตถุร้อน
X20-X29 การสัมผัสสัตว์และพืชที่มีพิษ
X30-X39 การสัมผัสแรงธรรมชาติ
X40-X49 การเป็นพิษโดยอุบัคิเหตุจากการสัมผัสสารพิษ
X50-X57 การออกกำลังมากเกิน การเดินทาง และการขาดแคลน
X58-X59 การสัมผัสโดยอุบัติเหตุกับปัจจัยอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
X60-X84 การตั้งใจทำร้ายตนเอง
X85-Y09 การถูกทำร้าย
Y10-Y34 เหตุการณ์ที่ไม่ทราบเจตนา
Y35-Y36 ปฏิบัติการตามกฏหมายและปฏิบัติการสงคราม
Y40-Y84 ภาวะแทรกซ้อนทางการดูแลทางอายุรกรรมและศัลยกรรม
Y40-Y59 ยา ตัวยา และสารชีวภาพทำให้เกิดผลร้ายในการใช้เพื่อรักษา
Y60-Y69 อุบัติเหตุต่อผู้ป่วยระหว่างการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม
Y70-Y82 อุปกรณ์ทางการแพทย์มีส่วนในการเกิดผลร้ายในการใช้เพื่อการ
วินิจฉัยและรักษา
Y83-Y84 การผ่าตัดและหัตถการอื่นเป็นสาเหตุของปฏิกิริยาผิดปกติของผู้ป่วย
หรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดภายหลัง โดยไม่ได้ระบุถึงผลร้ายนั้น
ในขณะทำหัตถการ
Y85-Y89 ผลตามมาของสาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย
Y90-Y98 ปัจจัยเสริมที่เกี่ยวกับสาเหตุของการบาดเจ็บป่วยและการตายที่จำแนกไว้ที่
อื่น
ิ
3.2 โรคที่เกิดจากความพิการแต่กำเนิด เป็นโรคที่มักพบบ่อยที่ทำให้เกิดความพการทางด้าน
โครงสร้างของร่างกาย ความพการของการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย อยู่ในบทที่ 17
ิ
Congenital malformations, deformations and chromosomal abnormalities เป็ น
บทที่รวบรวมความพิการแต่กำเนิดทุกลักษณะ โดยใช้อักษร Q บทนี้ประกอบด้วยกลุ่มรหัสต่อไปนี้
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ