Page 38 - การให้รหัสโรค
P. 38
27
▪ T33-T35 หิมะกัด
▪ T36-T50 การเป็นพิษจากยา ตัวยา และสารชีวภาพ
▪ T51-T65 การเป็นพิษจากสารที่ไม่ใช้เป็นยา
▪ T66-T78 ผลอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของสาเหตุภายนอก
▪ T79 ภาวะแทรกซ้อนในระยะต้นบางอย่างของการบาดเจ็บ
▪ T80-T88 ภาวะแทรกซ้อนของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม มิได้
จำแนกไว้ที่ใด
ื่
ิ
▪ T90-T98 ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บ การเป็นพษ และผลสืบเนื่องอนของ
สาเหตุภายนอก
ในบทนี้ รหัสที่ขั้นต้นด้วยอกษร S ใช้สำหรับการบาดเจ็บที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย และ
ั
ั
รหัสที่ขึ้นต้นด้วยอกษร T ใช้สำหรับการบาดเจ็บที่หลายส่วนของร่างกาย หรือที่ไม่ระบุรายละเอยด
ี
รวมทั้งการเป็นพิษและผลสืบเนื่องของสาเหตุภายนอก
ในหัวข้อที่มีการระบุว่าเป็นการบาดเจ็บหลายตำแหน่ง คำว่า “ร่วมกับ (with)” หมายความ
ว่ามีการบาดเจ็บทั้งสองตำแหน่ง เช่น Traumatic pneumothorax with open wound into
thoracic cavity และคำว่า “และ (and)” หมายความว่ามีการบาดเจ็บตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งหรือ
ทั้งสองตำแหน่ง เช่น Injury of muscle and tendon of triceps ควรปฏิบัติตามหลักการให้รหัส
การบาดเจ็บโดยให้ครบทุกตำแหน่ง รหัสรวมสำหรับการบาดเจ็บหลายตำแหน่งมีไว้ใช้เฉพาะเมื่อมี
ข้อมูลไม่เพียงพอ
ในส่วนของรหัสที่ขึ้นต้นด้วยอักษร S รวมทั้ง T00-T14 และ T90-T98 ประกอบด้วยบาดเจ็บ
ที่จำแนกในระดับรหัสสามหลักเป็นชนิดต่างๆ ดังต่อไปนี้
การบาดเจ็บชั้นผิว (Superficial injury) รวม:
การถลอก (abrasion)
ตุ่มหนอง (ที่ไม่เกิดจากความร้อน) (Blister (nonthermal))
รอยฟกซ้ำ, รวมจ้ำและก้อนเลือด (Contusion, including, bruise and
haematoma)
แมลงกัด (ไม่มีพิษ) Insect bite (nonvenomous)
แผลเปิด (Open wound) รวม:
สัตว์กัด (animal bite)
รอยบาดหรือรอยกรีด (cut)
แผลฉีกขาด (laceration)
แผลเจาะ (puncture wound) รวม มีสิ่งแปลกปลอด (ทิ่มแทง)
กระดูกหัก (Fracture) รวม:
กระดูกหัก (fracture):
• แบบปิด (closed)
o แตกย่อย (comminuted)
o ยุบลง (depressed)
o ยกตัวเกยกัน (elevated)
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ