Page 61 - การให้รหัสโรค
P. 61
50
รหัสหลักที่สี่ของการแท้งไม่ครบอยู่ในช่วง .0 ถึง .4 ส่วนรหัสหลักที่สี่ของการแท้งครบอยู่
ในช่วง .6 ถึง .9 ตามด้วยภาวะแทรกซ้อนที่แพทย์วินิจฉัย เช่น แพทย์วินิจฉัยเป็นการแท้งไม่ครบ
ุ้
ั
ร่วมกับมีภาวะแทรกซ้อนติดเชื้อในระบบสืบพนธ์และในองเชิงกราน ให้รหัสหลักที่สี่เป็น .0 หรือ .5
้
เมื่อแพทย์วินิจฉัยเป็นการแท้งครบร่วมกับมีภาวะแทรกซอนติดเชื้อในระบบสืบพันธ์และในอุ้งเชิงกราน
ให้รหัสหลักที่สี่เป็น .1 หรือ .6 เมื่อมีภาวะแทรกซ้อนจากเลือดออกมากจนต้องให้เลือดชดเชยตาม
ลักษณะการแท้งไม่ครบและครบตามลำดับ ถ้าหากแพทย์ระบุว่าแท้งครบหรือไม่ครบ ให้ใช้รหัสหลักที่
สี่เป็นการแท้งครบ (.6 ถึง .9)
สัญลักษณ์ต่างๆ ในหนังสือ ICD-10 เล่มที่ 1
ข้อความที่รวมถึง (Includes terms) ในหัวเรื่องของรหัสสามและสี่หลัก มักมีรายการของ
ข้อความอนที่ใช้ในการวินิจฉัยอีกจำนวนหนึ่ง ที่รู้จักกันในฐานะ “ข้อความที่รวมถึง” ซึ่งขึ้นต้นรายการ
ื่
ด้วยคำว่า “รวม” เพอเป็นตัวอย่างของข้อความที่ใช้ในการวินิจฉัยที่ถูกจำแนกในหัวเรื่องนั้น ข้อความ
ื่
เหล่านี้อาจเป็นภาวะที่แตกต่างกัน หรือชื่อพ้องกัน แต่ไม่ได้เป็นการจำแนกย่อยของหัวเรื่อง
ื่
ข้อความที่รวมถึงถูกนำมาแสดงในรายการเพอชี้นำเนื้อหาของหัวเรื่อง หลายข้อความใน
รายการเป็นข้อความสำคัญหรือใช้บ่อยในหัวเรื่องนั้น ที่เหลือเป็นภาวะก้ำกึ่งหรือเป็นตำแหน่งที่ระบุ
่
เพื่อแยกแยะขอบเขตระหว่างแต่ละชนิดย่อย รายการของข้อความทที่รวมถึงจึงไมมีทางที่จะสมบูรณ์
ี่
ั
แบบ ชื่อคำวินิจฉัยที่เป็นทางเลือกถูกรวบรวมไว้ในดรรชนีลำดับอกษร ซึ่งควรใช้ค้นหาเป็นลำดับแรก
ในการให้รหัสคำวินิจฉัย เช่น
ข้อความที่ไมรวมถึง (Excludes terms) บางชื่อรหัสมีรายการของภาวะที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า
่
“ไม่รวม” ข้อความเหล่านี้ แม้ชื่อรหัสจะชวนให้เข้าใจว่าถูกจำแนกไว้ที่นี่ ล้วนถูกจำแนกไว้ที่อน
ื่
ตัวอย่างเช่น
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ