Page 142 - จราจร
P. 142

๑๓๕




                             การทําแผนที่เกิดเหตุโดยสังเขป
                             ตามปกติ เปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนจะตองไปดูที่เกิดเหตุและเปนผูจัดทําแผน

                 ที่เกิดเหตุดวยตนเอง แตเนื่องจากปจจุบัน สภาพการณเปลี่ยนแปลงไป พนักงานสอบสวนไมสามารถไปดู
                 ที่เกิดเหตุไดทุกคดี หรือเดินทางไปลาชา เจาหนาที่ตํารวจที่พบเหตุอาจตองจัดทําแผนที่เกิดเหตุเบื้องตน

                 เพื่อประโยชนในการแยกรถคูกรณีและเปดการจราจรดวยความรวดเร็ว แตทั้งนี้ หากสถานการณรุนแรง
                 เชน กรณีมีผูเสียชีวิต หรือมีความเสียหายจํานวนมาก ระหวางรอพนักงานสอบสวนก็จัดทําไป แตกอน

                 แยกรถคูกรณีควรใหพนักงานสอบสวนมาถึงที่เกิดเหตุเสียกอนและมอบแผนที่ที่จัดทําไวใหพนักงาน
                 สอบสวนดําเนินการตอไป หลักในการจัดทําแผนที่เกิดเหตุเบื้องตน ประกอบดวยหัวขอดังตอไปนี้

                             ๑.  กระดาษที่ใชในการเขียนแผนที่ควรเปนกระดาษขาว ไมมีเสนบรรทัด (หากเปน
                 กระดาษตารางแบบกระดาษกราฟดีมาก เพราะจะยอมาตราสวนไดแนนอนใกลเคียงกับความเปนจริง)

                 ขนาดพอสมควร ไมเล็กจนเกินไปจนไมสามารถจะวาดแผนที่และกําหนดรายละเอียดไดครบถวน
                 โดยทั่วไปขนาดที่เหมาะสม คือกระดาษขนาด A๔
                             ๒.  กอนเริ่มวาดแผนที่ ใหผูเขียนหันหนาไปทางทิศเหนือ เพื่อใหทิศเหนืออยูดานบน

                 ของหัวกระดาษเสมอ (ในแผนที่จะปรากฏเครื่องหมายเหนือ หรือ น.)
                             ๓.  การใชมาตราสวนในแผนที่ ควรดูใหเหมาะสมกับกระดาษ และควรไดสัดสวนกับ

                 สภาพความเปนจริง ไมเล็กหรือใหญจนเกินไป
                             ๔.  เขียนแนวถนนบริเวณสถานที่เกิดเหตุลงในกระดาษแผนที่ โดยใหปรากฏเสนแบง

                 ชองทางเดินรถ เสนประ เสนทึบ (สีขาว/สีเหลือง) โดยใหมีจํานวนชองการจราจรที่มีอยู รวมทิศทาง
                 การเดินรถวาไปในทิศทางใด เชน เปนการเดินรถทางเดียว หรือเปนการเดินรถสวนทางกัน และมี

                 ชองทางเดินรถประจําทางหรือไม ใหมีปายจราจรหรือมีเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางในที่เกิดเหตุ
                 รวมทั้งทางคนเดิน (ทางมาลาย) และจุดสัญญาณไฟจราจร

                             ๕.  วาดรูปรถคูกรณีที่เกิดเหตุ ใหเห็นวาลักษณะที่เกิดเหตุเปนอยางไร เชน ทิศทางรถ
                 หันไปในชองทางเดินรถใด ครอมชองทางเดินรถใด หรือครอมชองทางหรือทับเสนแบงชองทางเดินรถ

                 หรือไม อยางใด ภาพสมมุติที่ใชแทนยวดยานและสิ่งที่อยูในที่เกิดเหตุที่นิยมใชตามภาพที่ ๓ ตัวอยาง
                 เครื่องหมายที่ใชในการเขียนแผนที่

                             ๖.  เขียนแนวรอยหามลอ (รอยเบรก) รอยครูด รอยเลือด จุดที่เศษวัสดุจากยวดยาน
                 ชนกันตกอยู เชน เศษกระจกแตก ชิ้นสวนของรถ เปนตน จุดหรือตําแหนงที่ผูบาดเจ็บหรือตายลมนอน

                 อยูหลังเกิดเหตุ
                             ๗.  กําหนดจุดชน (จุดที่ยวดยานกระทบกัน) ลงในแผนที่ ซึ่งอาจไดจากการนําชี้ของ
                 คูกรณี และ/หรือจากวัตถุพยานในที่เกิดเหตุ เชน จุดที่พบเศษดินตก เศษกระจกแตกตกอยู เปนตน

                 หากคูกรณีนําชี้ไมตรงกัน และไมมีวัตถุพยานที่บงชี้ได ก็ใหกําหนดจุดชนตามที่คูกรณีแตละฝายนําชี้

                 ไวในแผนที่ โดยหมายเหตุไวใหชัดเจนวา คูกรณีฝายใดชี้จุดใด
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147