Page 48 - จราจร
P. 48

๔๑




                                         กรณีที่ผูขับขี่หลบหนีไปหรือไมแสดงตัวตอตํารวจ ณ สถานที่เกิดเหตุมีผล
                 ตามกฎหมาย คือ

                                         (๑) สันนิษฐานวาเปนผูกระทําผิด กรณีที่ผูขับขี่หลบหนีไปหรือไมแสดงตัวตอ
                 ตํารวจ ณ สถานที่เกิดเหตุ กฎหมายใหสันนิษฐานวาเปนผูกระทําผิด ดังนั้นหากผูขับขี่มาแสดงตัว

                 ภายหลังและสูคดี ภาระการพิสูจนในการที่จะนําสืบพยานมาหักลางขอสันนิษฐานก็สามารถกระทํา
                 ไดวาตนไมไดเปนฝายกระทําผิด

                                         (๒)  ตํารวจมีอํานาจยึดรถคันที่ผูขับขี่หลบหนีหรือไมแสดงตัวสําหรับประเด็นนี้
                 แมผูขับขี่ไมหลบหนี แตไมยอมแสดงตนวาเปนผูขับขี่ตอตํารวจ ณ สถานที่เกิดเหตุ ก็ทําใหรถอาจถูก

                 ยึดไดเชนเดียวกันสําหรับตํารวจที่นี้หมายถึง เจาหนาที่ตํารวจโดยทั่วไปและผูที่ใชอํานาจยึดรถในสวนนี้
                 มักจะเปนพนักงานสอบสวน โดยการยึดรถตามมาตรา ๗๘ นี้ กฎหมายใหคําวา ใหตํารวจมีอํานาจ

                 ยึดรถคันที่ผูขับขี่หลบหนีหรือไมแสดงตนวาเปนผูขับขี่ ซึ่งเปนอํานาจดุลพินิจ ดังนั้นพนักงานสอบสวน
                 จะยึดรถหรือไมก็ได

                                         (๓) การสิ้นสุดอํานาจยึดรถของตํารวจ มี ๒ กรณี คือ กรณีคดีถึงที่สุดหรือ

                 ไดตัวผูขับขี่ ในกรณีที่ไดตัวผูกระทําผิด ไมวาจะเปนเพราะผูขับขี่มามอบตัวเองหรือถูกจับไดก็ตาม
                 อํานาจในการยึดรถของตํารวจจะสิ้นสุดลงทันที แตหากยังไมไดตัวผูขับขี่อํานาจในการยึดรถก็ยังคงมี
                 ตอไปจนกวาคดีจะถึงที่สุด ซึ่งหมายถึง จนกวาคดีขาดอายุความทางอาญาหรือมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟอง

                 โดยพิจารณาวาผูตองหาที่หลบหนีนั้นไมมีความผิดทางอาญาใดๆ นอกจากนี้ เนื่องจากการยึดรถ

                 ในกรณีนี้เปนอํานาจในการใชดุลยพินิจของตํารวจ ดังนั้น ตํารวจจะคืนรถใหแกเจาของหรือ
                 ผูครอบครองรถเมื่อใดโดยมีเงื่อนไขอยางไรก็ได กลาวคือจะคืนรถทั้งๆ ที่ยังไมไดตัวผูขับขี่ และคดี

                 ยังไมถึงที่สุดก็ได เพราะการยึดรถในกรณีนี้ เปนอํานาจดุลพินิจ



                                     อํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·ÕèμÒÁ·ÕèÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨáË‹§ªÒμÔกํา˹´
                                     ในการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานจราจร หรือพนักงานเจาหนาที่ในการบังคับใช

                 กฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจราจร เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในการอํานวยความสะดวก
                 ดานการจราจรและการรักษาความปลอดภัยทางถนน สํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดมีคําสั่งที่ ๕๓๗/๒๕๕๕

                 เรื่อง การกําหนดอํานาจหนาที่ของตําแหนงในสถานีตํารวจ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ในสวนของ
                 สายงานจราจร ระบุไวในคําสั่งขอ ๕.๖ - ๕.๗ มีใจความดังนี้



                                     ËÑÇ˹ŒÒ§Ò¹¨ÃҨà มีหนาที่ดังนี้

                                     เปนหัวหนาผูปฏิบัติงานจราจร รับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานดานการจราจร
                 วางแผนอํานวยการสั่งการ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลงานดานการควบคุมจราจร

                 จัดการและบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการจราจร รวมทั้งงานจราจรตามโครงการพระราชดําริและงาน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53