Page 67 - จราจร
P. 67

๖๐




                                   ÊÔ觷Õè¤ÇÃÃÐÁÑ´ÃÐÇѧÍ×è¹æ
                                      ๑.  ควบคุมอารมณเมื่อถูกผูใชรถใชถนนตําหนิการปฏิบัติ เมื่อเกิดการจราจร

              ติดขัดมาก
                                      ๒.  ถูกซักถามหรือพูดจาประชดประชัน
                                      ๓.  เมื่อปดการจราจรหรือเตรียมเสนทางบุคคลสําคัญตางๆ
                                      ๔.  การจราจรติดขัดเปนวงแหวน ตองเรงระบายคลี่คลายการจราจรใน

              วงแหวนอาจทําใหดานอื่นเคลื่อนตัวหรือแบงเรงระบายนอยกวา
                                      ๕.  สัญญาณไฟจราจรขัดของ ตองออกมาอํานวยการจราจรดวยสัญญาณมือแทน

                                      ๖.  ภูมิอากาศแปรปรวน เชน ฝนตกนํ้าทวมขัง เปนตน


                          ๒.๑.๒  การจัดการจราจรและการควบคุมการจราจรตามประเภทถนน
                                                                                       ๑๑
                                  ò.ñ.ò.ñ ¡ÒèѴ¡ÒèÃҨûÃÐàÀ·¶¹¹·Ò§μç

                                             การจัดการจราจรบนทางตรงจะตองมีการวางแผนที่คํานึงถึง
              ความปลอดภัย สะดวกรวดเร็ว และลดการติดขัดจากทางแยกที่มี โดยมีหลักการจัดการจราจรดังนี้

                                             ๑)  จัดการจราจรเปนทีมเวิรก โดยเปนกลุมทํางานที่ประกอบขึ้นจาก
              เจาหนาที่หลายทางแยกในเสนทางทั้งหมด มีการจัดองคกรของกลุม โดยแบงแยกหนาที่กัน มีการ
              ประชุม วางแผน ระดมความคิด
                                             ๒)  มีการสํารวจ วางแผน โดยใชขอมูล เชน ถนน ทางแยก

              ระยะทาง ความเร็วเฉลี่ย จุดกอปญหาจราจร
                                             ๓)  จัดการควบคุมสัญญาณไฟแบบเหลื่อมเวลา รับปริมาณจราจร

              บนเสนทางสายตรง โดยการคํานวณหรือทดลองขับขี่บนเสนทาง
                                             ๔)  จัดกําลังเจาหนาที่ตํารวจเปนสายตรวจ และกําลังประจําจุดในเสนทาง
              ไดแก จุดกลับรถ คอขวด ปากซอย จุดกอปญหาจราจร โดยสัมพันธกันในทุกจุด
                                             ๕)  จัดการจราจรแบบสลับชองทางเดินรถ (Reversible Lane) บริเวณที่

              เหมาะสม เพื่อรองรับปริมาณรถไดอยางถูกตอง
                                             ๖)  ควบคุมเวลาตอบสนองการแกไขปญหาจราจร เชน การเดินทาง

              ไปยังที่เกิดเหตุหรือจุดที่เกิดปญหาจราจรอยางทันทวงที
                                             ๗)  ประสานการควบคุมสั่งการกันเปนระบบทั้งสถานีตํารวจนั้นๆ และ
              ใกลเคียง

                                             ๘)  ทําการประชาสัมพันธใหขอมูลการเดินทางแกประชาชน
              อยางสมํ่าเสมอ



              ๑๑  สํานักงานตํารวจแหงชาติ. ๒๕๕๗. คูมือการฝกอบรมขาราชการตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่งานจราจรในสถานีตํารวจ. กรุงเทพฯ
               : โรงพิมพตํารวจ.
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72