Page 64 - จราจร
P. 64

๕๗


                                                       º··Õè ò



                           ËÅÑ¡áÅÐÇÔ¸Õ»¯ÔºÑμÔ㹡ÒèѴ¡ÒÃáÅСÒäǺ¤ØÁ¡ÒèÃÒ¨Ã


                 ò.ñ ¡ÒèѴ¡ÒÃáÅСÒäǺ¤ØÁ¡ÒèÃÒ¨Ãã¹Ê¶Ò¹¡Òóμ‹Ò§æ

                             การจัดการจราจร หมายถึง การดําเนินการใดๆ ที่ทําใหการใชถนนที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพ

                 สูงสุดดานการจราจร โดยอาจจะรวมถึงการปรับปรุงแกไขเล็กนอย เชน การทาสี ตีเสน แบงชองทาง
                 การติดตั้งสัญญาณไฟ แตไมรวมถึงการกอสรางใหมเพิ่มเติม

                             การควบคุมการจราจร หมายถึง การปฏิบัติการใดๆ ใหเปนไปตามแผนการจัดการจราจร
                 ที่ไดกําหนดไวใหดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
                             วัตถุประสงคในการจัดการและควบคุมการจราจร

                             ๑.  เพื่อความปลอดภัยตอผูใชถนน รวมทั้งคนเดินเทา

                             ๒.  เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการเรงระบายการจราจร
                             ๓.  เพื่อควบคุมทิศทางการระบายรถและคน
                             ๔.  เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย

                             สาเหตุของปญหาการจราจร
                             ๑.  การเพิ่มขึ้นของปริมาณยานพาหนะที่มีสัดสวนที่สูงกวาอัตราการขยายตัวของพื้นผิว

                 จราจรที่จะรองรับ
                             ๒.  ปริมาณถนนและระบบขนสงไมเพียงพอตอความตองการการเดินทางเพื่อรองรับ

                 การเดินทางตางๆ
                             ๓.  การวางผังเมืองและโครงขายถนนที่มีการเจริญเติบโตอยางไมมีการควบคุมทําให

                 ไมสอดคลองกับการเดินทางสัญจร
                             ๔.  วินัยจราจรภาคประชาชน เปนปจจัยที่เปนปญหาทําใหการจราจรติดขัดในวงกวาง

                 รวมถึงอุบัติเหตุบนทองถนน
                             ๕.  การบริหารงานจราจร มีหลายหนวยงานเขามาเกี่ยวของทําใหขาดการบูรณาการ

                 ในภาพรวมจากสาเหตุของปญหาจราจรตามที่กลาวขางตน ทําใหเกิดแนวทางแกไขปญหาการจราจร
                 ติดขัด โดยการจัดการจราจร (Traffic Management) ซึ่งหมายถึง แนวทางแกไขปญหาจราจรที่มุงเนน

                 การเพิ่มศักยภาพในการเคลื่อนตัวของกระแสจราจร และการปรับปรุงสภาพการจราจร โดยการใชพื้นผิว
                 จราจรที่มีอยูเดิมใหเกิดประโยชนสูงสุด ดวยการเพิ่มความจุ หรือความสามารถในการรองรับปริมาณ

                 การจราจรของถนน ภายใตทรัพยากรเดิมที่มีอยู โดยหลีกเลี่ยงการกอสรางขนาดใหญ เชน การกอสราง
                 หรือตัดถนนเสนใหมโดยไมจําเปน เปนตน โดยมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อเพิ่มความปลอดภัย และความ
                 สะดวกใหกับผูขับขี่ยวดยาน คนเดินเทา และผูที่มีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการใชรถใชถนน อีกทั้งเปนมิตร

                 ตอสิ่งแวดลอมและลดมลภาวะดานตางๆ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69