Page 60 - จราจร
P. 60

๕๓




                                                - แบบตาราง (Grid Network) มีลักษณะคลายตารางหมากรุก
                 ประกอบดวย แนวถนนตัดตั้งฉากกัน ความกวางของถนนแตละสายเทากัน การวางผังเมืองและการ

                 ตัดถนนจะทําไดงาย เหมาะกับบริเวณพื้นที่ราบ การเดินทางสามารถออมผานจุดที่เปนศูนยการคา
                 หรือบริเวณที่การจราจรคับคั่งและสามารถเปลี่ยนระบบใหรถเดินทางเดียวไดงายเมื่อปริมาณการจราจร
                 สูงมาก ขอเสียของถนนระบบนี้คือมีทางแยกมาก ถาจัดระบบสัญญาณไฟจราจรไมดีจะทําใหการจราจร

                 ติดขัด สําหรับผูที่มีจุดเริ่มตนและจุดปลายทางในลักษณะเสนทแยงมุม จะใชระยะเดินทางยาวมากขึ้น
                                                - แบบรัศมีออกจากจุดศูนยกลาง (Radial Network) มีเสนถนน

                 แยกจากใจกลางเมืองไปยังชานเมืองหรือเมืองบริวารโดยรอบและมีถนนวงแหวนเชื่อมตอระหวางถนน
                 รัศมีเปนชั้นๆ ตั้งแต ๑ ถึง ๓ ชั้น ลักษณะคลายใยแมงมุม เมืองที่มีประชากรตั้งแต ๒๐,๐๐๐ คนขึ้นไป

                 ควรมีถนนวงแหวน ๑ วง เมืองที่มีประชากรตั้งแต ๕๐๐,๐๐๐ คนขึ้นไป ควรจะมีถนนวงแหวน ๒ วง
                 ลักษณะของถนนวงแหวน ไมจําเปนตองเปนวงกลม สามารถเลือกวางแนวไดตามความเหมาะสมของ

                 พื้นที่และภูมิประเทศ วกออมจนครบรอบหรือเกือบครบรอบเพื่อใหการจราจรสามารถเคลื่อนที่เขาสู
                 หรือระบายออกจากเมืองไดรวดเร็ว แมจะใชระยะทางมากขึ้นแตการจราจรไมติดขัด เพราะมีการจัด
                 ระบบควบคุมทางเชื่อมเขาออก (Control of Access) ตลอดจนการหามจอดรถริมขอบถนน

                                        ๓.๓.๒  โครงขายถนนในตางจังหวัด (Rural Road System) เปนถนนสาย

                 สําคัญเชื่อมระหวางเมืองกับเมือง โดยผานเขาไปยังศูนยกลางของตัวเมือง เมื่อตัวจังหวัดมีประชากร
                 เพิ่มมากขึ้นและตัวเมืองขยายโตขึ้นจะเกิดปญหาการจราจรติดขัดในบริเวณยานการคา  ดังนั้น
                 ในเมืองใหญที่มีประชากรประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ คนขึ้นไป ควรมีถนนออมเมือง (By Pass) เชน จังหวัด

                 ชลบุรี ราชบุรี เพชรบุรี หรือถาเปนเมืองเล็กตั้งอยูระหวางเมืองใหญสองเมือง ก็จําเปนตองมีถนน

                 ออมเมืองเชนกัน เพื่อปองกันมิใหการจราจรที่ไปมาติดตอระหวางเมืองใหญเขาไปกอปญหาการติดขัด
                 ในเมืองเล็ก



                                  ó.ô â¤Ã§¢‹Ò¡ÒèÃҨà (Traffic Network)

                                        โครงขายการจราจร ประกอบดวยกลุมของถนนชนิดตางๆ ทั้งที่เปนถนน
                 สายหลักและสายรอง เชื่อมตอกันดวยทางโคง ทางแยกหรือวงเวียน จะมีสัญญาณไฟ (Signalized

                 Intersection) หรือไมก็ตาม ในโครงขายการจราจรจะมีถนนแตละสาย เรียกวา Link ซึ่งอาจมีลักษณะ
                 ในทิศทางเดียว (One Way) หรือสองทิศทางสวนกัน (Two Way) ก็ได โครงสรางของ Link เปน

                 ถนนที่เชื่อมระหวางสองทางแยก ซึ่งจะมียวดยานเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน จากแยกหนึ่ง
                 ไปสูอีกแยกหนึ่งโดยมีสัญญาณไฟจราจรบริเวณทางแยกเปนตัวควบคุม ถนนในโครงขายดังกลาว

                 จะมีลักษณะทางกายภาพ (Physical Characteristic) ประกอบดวย ความยาว (Length) ความกวาง
                 (Width) จํานวนชองทางจราจร (Lane) ความจุเปนสเปซ (Space) และชองทางเลี้ยวความเร็วอิสระ

                 (Free-Flow Speed)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65