Page 58 - จราจร
P. 58
๕๑
การลื่นไถลไปอีก ระยะที่รถลื่นไถลไปอีกนั้น เรียกวา ระยะลื่นไถล (Skid Distance) หรือระยะเบรก
(Braking Distance)
ó. ¶¹¹ (Road)
ถนนเปนปจจัยของการจราจรและมีความเกี่ยวพันกับวิศวกรรมจราจร (Traffic
Engineering) และวิศวกรรมการทาง (Highway Engineering) เปนอยางมาก นับตั้งแตการออกแบบ
การกําหนดประเภท การกอสราง การควบคุมคุณภาพใหเปนไปตามหลักวิศวกรรมจราจร ตลอดจน
โครงขายของถนน (Road Network) และโครงขายการจราจร (Traffic Network) ถนนจะตองกอสรางขึ้น
เพื่อรองรับการเดินทางของรถ การกอสรางถนนจะตองออกแบบดวยหลักเรขาคณิต (Geometric
Design) ซึ่งประกอบไปดวย การวางแนวถนน (Road Alignment) การออกแบบทางโคงระยะสายตา
(Sight Distance) และการออกแบบทางแยก (Intersection) เปนตน การกอสรางถนนจะตองคํานึงถึง
ปริมาณจราจร ลักษณะ ขนาด และนํ้าหนักของรถ การเคลื่อนที่ของรถ และผลกระทบตางๆ ที่มีตอ
การเคลื่อนที่ของรถดวย
ó.ñ ¡ÒÃÍ͡Ẻ¶¹¹ (Geometric Design) ตองพิจารณาหลักเกณฑตางๆ
ดังตอไปนี้
- ความสามารถในการรองรับปริมาณการจราจรของประเภทรถยนต
ชนิดตางๆ และความเร็วของรถ
- ใหความปลอดภัยและความมั่นใจแกผูขับรถ
- ไมควรเกิดการเปลี่ยนแปลงของแนวถนน ทางโคง ความลาด ความชัน
และระยะสายตาอยางกะทันหัน
- มีสิ่งอํานวยความสะดวก ระบบควบคุมการสัญจรตางๆ ที่จําเปน อาทิ
ปายสัญญาณไฟ ฯลฯ
- คํานึงถึงความประหยัดในการกอสราง และการบํารุงรักษา นอกจากนี้
การออกแบบถนนยังควรคํานึงถึงความสวยงาม ความพอใจของผูใชถนนหรือผูอาศัยใกลเคียง
มีประโยชนตอสังคม และคํานึงถึงมลภาวะที่อาจเกิดขึ้น
ó.ò »ÃÐàÀ·¢Í§¶¹¹ μÒÁËÅÑ¡ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ¨ÃҨà มี ๔ ประเภท คือ
- ทางพิเศษ (Expressway) หรือทางดวน (Freeway) เปนถนนที่สราง
ขึ้นมาเปนพิเศษเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีลักษณะ
แตกตางจากถนนประเภทอื่นๆ คือ สามารถรองรับปริมาณจราจรไดเปนจํานวนมาก มีขอกําหนดเปน
พิเศษแตกตางจากถนนปกติ เชน การจํากัดประเภทรถ หรืออนุญาตเฉพาะยานพาหนะที่มีเครื่องยนต
ไมอนุญาตใหคนหรือสัตวเดินหรือขาม และไมมีทางแยกตัดขวาง หรืออีกนัยคือการควบคุมการเขาออก
โดยสมบูรณ นั่นคือถาจําเปนตองสรางทางแยกผานก็จะตองสรางเปนถนนชนิดยกระดับขาม