Page 59 - จราจร
P. 59

๕๒




              หรือลอดขางใตเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดทางแยกขึ้น นอกจากนี้อาจจะจํากัดจํานวนรถดวยการคิดคาบริการ
              หรือคาผานทาง หรือคาธรรมเนียม แลวแตกรณี

                                     - ถนนสายหลัก (Arterial Road) เปนถนนโครงหลักของเมืองที่ใชเปน
              เสนทางสัญจรหลัก หรือใชเปนถนนเชื่อมระหวางเมือง เชน ถนนสุขุมวิท ถนนพหลโยธิน ถนนเพชรบุรี

              ตัดใหม ถนนพระรามเกา ถนนรามอินทรา ถนนบรมราชชนนี ถนนเพชรเกษม และถนนพระราม ๒
              เปนตน

                                     - ถนนสายรอง (Collector Road) เปนถนนซึ่งใชเชื่อมกับถนนสายหลัก
              โดยทั่วไปตามทฤษฎีเปนถนนโครงขายรองรับปริมาณการจราจรนอยกวาถนนสายหลัก แตในเขต

              กรุงเทพมหานครสามารถเทียบเคียงตามการเชื่อมตอได เชน ถนนอโศก ถนนวิทยุ เปนตน
                                     - ถนนทองถิ่น (Local Road) เปนถนนซึ่งรองรับการเดินทางจากถนน

              สายรองเพื่อเขาสูชุมชน เชน ถนน ซอยตางๆ เปนตน



                               ó.ó â¤Ã§¢‹Ò¢ͧ¶¹¹  (Road Network) โครงขายของถนนคือ เสนทาง
              ของถนนและจุดตัดของถนนหรือทางแยก ที่ประกอบกันเปนโครงขายที่มีรูปแบบลักษณะตางๆ เชน

              มีลักษณะเปนตาราง วงแหวน หรือเสนรัศมีออกจากจุดศูนยกลาง เปนตน ซึ่งขึ้นกับการวางผังเมือง
              และการกําเนิดของเมือง

                                     â¤Ã§¢‹Ò¶¹¹ÍҨẋ§ä´Œà»š¹ ò ÅѡɳФ×Í
                                     โครงขายถนนแบบเปด (Opened Network) ประกอบดวยกลุมของถนน

              ที่เชื่อมตอระหวางทางแยกสัญญาณไฟ จากแยกหนึ่งไปสูอีกแยกหนึ่ง โดยมีจุดเริ่มตนและจุดปลายทาง
              (Destination) ไมบรรจบกัน
                                     โครงขายถนนแบบปด  (Closed Network) ประกอบดวยกลุมของถนน

              ที่เชื่อมตอระหวางทางแยกสัญญาณไฟ  จากแยกหนึ่งไปสูอีกทางแยกหนึ่งโดยมีจุดเริ่มตน
              และจุดปลายทางมาบรรจบกัน

                                     â¤Ã§¢‹Ò¢ͧ¶¹¹»ÃСͺ´ŒÇÂ
                                     ๓.๓.๑  โครงขายถนนในเมือง (Urban Road Pattern) แบงออกเปนแบบ
              สําคัญได ๓ แบบคือ

                                            - แบบเปนเสนตรง (Linear Network) เปนถนนที่เกิดขึ้นบริเวณ
              ที่เปนภูเขา หุบเขา เนินเขา ที่พื้นที่จํากัด ถนนมักจะเปนเสนตรงผานชุมชน การเจริญของตัวเมือง

              จะขยายเปนเสนตรง มีอาคารตั้งอยูสองฟากถนนสายหลัก และจะมีถนนยอยแยกจากถนนสายหลัก
              ถนนลักษณะนี้จะมีปญหาการติดขัดของการจราจรเมื่อตัวเมืองขยายตัวขึ้น เพราะจะตองรองรับ

              การจราจรภายในชุมชน และการจราจรภายนอกซึ่งผานเมืองไปยังจุดปลายทางอื่นๆ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64