Page 61 - จราจร
P. 61
๕๔
ó.ô.ñ ¶¹¹·ÕèÁÕÅѡɳÐ໚¹·Ò§â¤Œ§ มี ๒ ประเภท คือ
๓.๔.๑.๑ ทางโคงในแนวดิ่ง (Vertical Curve) ซึ่งแยกออกเปน
ทางโคงลักษณะนูน (Crest Vertical Curve) และทางโคงลักษณะเวา (Sag Vertical Curve)
๓.๔.๑.๒ ทางโคงในแนวราบ (Horizontal Curve) เปนทางโคงที่มี
การยกระดับถนนเพื่อปองกันการถูกแรงเหวี่ยงจากศูนยกลางหรือการพลิกควํ่า
ó.ô.ò ·Ò§á¡ (Intersection) หมายถึง บริเวณรวมที่มีถนนสองสาย
หรือมากกวาตัดกันหรือพบกัน ซึ่งเมื่อถนนสองสายพบกันหรือตัดกันยอมเกิดปญหาความขัดแยง
ในการเคลื่อนที่ ลักษณะทางแยกมีอยู ๓ ลักษณะ คือ
๓.๔.๒.๑ ทางแยกลักษณะปกติไมมีการกอสรางเกาะกลาง
หรือเพิ่มเติม (Unchannelized) รวมถึงทางแยกที่มีการขยายถนน (Flared Intersection) แตไมมี
สิ่งกอสรางพิเศษอื่นๆ
๓.๔.๒.๒ ทางแยกที่มีเกาะกลางถนน (Channelized) เปนแยก
ที่มีการสรางเกาะเพิ่มเติมทําใหการจราจรเปนไปอยางมีระเบียบมากขึ้น
๓.๔.๒.๓ ทางแยกยกระดับ (Interchange) เปนทางแยกที่เปน
ถนนยกระดับมีวัตถุประสงคเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาความขัดแยงในการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ ทําให
การจราจรสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยมากขึ้น แตทางแยกยกระดับตองเสียคาใชจายสูงและใชบริเวณ
พื้นที่มาก
ó.ô.ó ǧàÇÕ¹ (Roundabout) เปนการออกแบบทางแยกใหมีลักษณะ
เปนวงกลม เหมาะสมกับบริเวณที่มีทางแยกมากกวา ๔ แยก และในบริเวณทางแยกมีปริมาณรถเลี้ยว
มากกวารถที่ไปตรง ซึ่งโดยทั่วไปสภาพการจราจรทุกแยกรวมกันไมควรเกินกวา ๓,๐๐๐ คันตอชั่วโมง
¢ŒÍ´Õ¢Í§¡ÒÃÁÕǧàÇÕ¹
๑) เหมาะสมกับทางแยกที่มี ๕ แยก หรือมากกวา
๒) เมื่อปริมาณการจราจรเบาบาง การเคลื่อนที่ในทิศทางเดียว
จะชวยลดปญหาความลาชา
๓) ประหยัดคาใชจายในการกอสรางมากกวาการกอสรางทางแยก
ยกระดับ
¢ŒÍàÊÕ¢ͧ¡ÒÃÁÕǧàÇÕ¹
๑) กอใหเกิดปญหาความขัดแยงเนื่องจากการเคลื่อนที่ตัดสลับ
(Weaving Conflict Point)
๒) จําเปนตองใชบริเวณเนื้อที่มาก
๓) คาใชจายในการกอสรางแพงมากกวาทางแยกทั่วๆ ไป
๔) ไมเหมาะสมกับบริเวณที่มีปริมาณการจราจรหนาแนน เนื่องจาก
จะทําใหเกิดปญหาความลาชา