Page 54 - จราจร
P. 54

๔๗




                                       -  V มาจาก Volition Time คือ ระยะเวลาซึ่งใชในการปฏิบัติการตามที่สมอง
                 สั่งการ

                                       คาของ PIEV มีความสําคัญตอปญหาการจราจร สาเหตุหนึ่งของอุบัติเหตุ
                 ที่เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากการตัดสินใจไมฉับพลันของผูขับรถ คนโดยทั่วไปควรมี PIEV ประมาณ

                 ๑-๒ วินาที มาตรฐานการออกแบบของ AASHO (American Association Of State Highway
                 Officials) กําหนดคา PIEV เทากับ ๒-๒.๕ วินาที แตถาสภาพรางกายเหนื่อยลาจากการเดินทางไกล

                 หรือพบปญหาที่ยากตอการตัดสินใจ ระยะเวลาในการตอบสนองอาจเพิ่มเปน ๔ วินาที ในทาง
                 วิศวกรรมจราจรใชในการคํานวณหาระยะเวลาหยุดรถที่ปลอดภัย  (Safe Stop Distance) และ

                 การออกแบบระยะเวลาของสัญญาณไฟเหลือง  (Amber Time)  โดยทั่วไปสัญญาณไฟเหลือง
                 ควรมีระยะเวลาประมาณ ๓-๕ วินาที หากสั้นเกินไป (๓ วินาที) อาจเกิดอุบัติเหตุ และความไมปลอดภัย

                 ในกรณีที่คนขับตัดสินใจที่จะแลนผานทางแยก แตหากออกแบบสัญญาณไฟเหลืองนานกวา ๕ วินาที
                 จะทําใหคนขับฉวยโอกาสฝาฝน โดยแลนผานทางแยกกันมากขึ้น

                                       ¡ÒÃÁͧàËç¹ (Vision)
                                       ความสามารถของตาคนปกติขณะอยูกับที่จะมองเห็นภาพในลักษณะกรวย

                 จอกวาง (Peripheral Vision) มีขอบเขตทํามุม ๑๒๐-๑๖๐ องศา เมื่อมีการเคลื่อนที่ขอบเขตของ
                 การมองเห็นชัดเจนจะลดลง เชน

                                       - ที่ความเร็ว ๔๐ กม./ชม.         มีมุมมองเห็นไดชัด ๑๐๐  องศา
                                       - ที่ความเร็ว ๗๕ กม./ชม.         มีมุมมองเห็นไดชัด   ๖๐  องศา

                                       - ที่ความเร็ว ๑๐๐ กม./ชม.        มีมุมมองเห็นไดชัด   ๔๐  องศา
                                       ความคมชัดของภาพที่ตาของคนปกติมองเห็นไดชัดที่สุด (Clearest Vision)

                 จะอยูในพื้นที่รูปกรวย ๓-๕ องศา และความคมชัดที่มองเห็นไดรองลงมา (Clear Vision) จะอยูใน

                 พื้นที่รูปกรวย ๑๐-๑๒ องศา ในชวงที่เลยพิกัดนั้นออกไป ความชัดเจนของภาพจะลดนอยลงไป
                                       นอกจากนี้สภาพการมองเห็นในเวลากลางคืนของคนขับรถ ถามีแสงสวางเขาตา
                 จากรถที่แลนสวนมา หรือจากการสะทอนของกระจกเขาตา จะทําใหเกิดการพรามัวชั่วขณะหนึ่ง

                 ซึ่งตาของมนุษยจะตองใชเวลาในการปรับขยาย หรือหดมานตา โดยถาเปนกรณีผานจากที่มืดออกสู

                 ที่สวางจะใชเวลาปรับตัวประมาณ ๓ วินาที และถาผานจากที่สวางเขาสูที่มืดใชเวลาปรับตัวประมาณ
                 ๖ วินาที

                                       ¤ÇÒÁàÁÒ (Drunkenness)
                                       การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลนั้น จะมีผลตอการขับขี่ ซึ่งในมาตรฐานในการ

                 ตรวจวัดผูที่ดื่มแอลกอฮอลแลวขับขี่นั้น จะถือเอาระดับแอลกอฮอลในเลือดที่เกิน ๕๐ มิลลิกรัม
                 เปอรเซ็นต (mg%) และสิ่งที่จะบอกไดวาเริ่มมีอาการเมาก็คือ ปริมาณแอลกอฮอลในรางกายที่มีผล

                 ตอการตอบสนองของรางกายปรากฏเปนลําดับดังนี้
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59